กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย


“ โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านกาหยี ”

ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านกาหยี

ชื่อโครงการ โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านกาหยี

ที่อยู่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3069-10(2)-05 เลขที่ข้อตกลง 05/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านกาหยี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านกาหยี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านกาหยี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3069-10(2)-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542หมวดที่ 1 ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โรงเรียนจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในระดับสถานศึกษา ให้นักเรียนได้ตระหนักถึงการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์โลกปัจจุบันนี้การบริโภคพืชผักถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีพของมนุษย์ เพราะพืชผักเป็นแหล่งของวิตามิน เกลือแร่ และกากใย อีกทั้งยังมีสารอาหารที่ช่วยในการเกิดโรค ต่างๆ จึงทำให้ความนิยมในการบริโภคผักมีมากขึ้น แต่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก เพราะพืชผักส่วน ใหญ่ที่วางขายในท้องตลาดทั่วไป พบว่ามีสารพิษตกค้างที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ประชาชนส่วนใหญ่จึงหันมาสนใจดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช รวมทั้งเชื้อโรคต่างๆที่ปนเปื้อนมากับการปลูกพืชบนดิน โดยหันมาบริโภคผักปลอดสารพิษซึ่งในปัจจุบันการผลิตผักปลอดสารพิษมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น การปลูกผัก แบบเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักในโรงเรือน การปลูกผักไร้ดิน (Hydroponics)ฯลฯ แต่การปลูกพืชบนดินมักมีปัญหาเกี่ยวกับโรค และแมลงในดิน รวมทั้งการจัดการปุ๋ยและระบบน้ำทำได้ยาก ส่วนการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินหรือการปลูกพืชไร้ดินนั้นเป็นการปลูกพืชที่เลียนแบบธรรมชาติ โดยการปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหาร (Hydroponics) หรือ ปลูกลงในวัสดุปลูกที่ไม่ใช่ดิน (soilless culture) ซึ่งอาศัยหลักการที่ว่าพืชต้องได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตผ่านระบบรากพืชพร้อมกับได้รับออกซิเจน และแสงแดดเพียงพอต่อการเจริญเติบโตทำให้พืชที่ปลูกแบบไม่ใช้ดินมีการเจริญเติบโตเต็มที่ตามศักยภาพของพันธุกรรมเพราะสามารถใช้สารละลายธาตุอาหารและน้ำที่ได้รับอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ผักไฮโดรโปนิกส์เป็นพืชผักที่ปลูกง่ายและประหยัดพื้นที่ ผักไฮโดรโปนิกส์ประเภทผักสลัดนั้นมีประโยชน์มากมายสามารถบริโภคได้ตั้งแต่เด็กยันผู้สูงอายุ สามารถทานได้เพื่อสุขภาพและเพื่อการบริโภคต่างๆ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายเป็นนวัตกรรมใหม่ที่จะทำให้การเกษตรสามารถก้าวไกลไปได้อีกอีกทั้งยังสามารถทำได้โดยไม่ต้องมีพื้นที่ที่กว้างขวางมากนัก
โรงเรียนบ้านกาหยีมีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักและส่วนสูงน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 30 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด โรงเรียนจึงตระหนักและเห็นความสำคัญของสารอาหารที่นักเรียนควรจะได้รับ จึงได้จัดทำโครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะผักปลอดสารพิษ นอกจากนี้ผลผลิตที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้วิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันและนักเรียนได้สารอาหารที่เพียงพอจากผลผลิตของโรงเรียน
  4. ข้อที่ 4. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ผักวิเศษ
  2. 2.หนูทำได้
  3. มื้อนี้เพื่อหนู
  4. 3.ประชาสัมพันธ์
  5. สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 95
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
  2. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
  3. โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันและนักเรียนได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
  4. นักเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
95.00 95.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้วิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รู้วิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
95.00 74.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันและนักเรียนได้สารอาหารที่เพียงพอจากผลผลิตของโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประทานอาหารกลางวันจากผลผลิตโครงการผักไฮโดรโปนิกส์ที่มีสารอาหารที่เพียงพอ
95.00 95.00

 

4 ข้อที่ 4. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1-ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีสุขภาพดี มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
95.00 74.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 95
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้วิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันและนักเรียนได้สารอาหารที่เพียงพอจากผลผลิตของโรงเรียน (4) ข้อที่ 4. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ผักวิเศษ (2) 2.หนูทำได้ (3) มื้อนี้เพื่อหนู (4) 3.ประชาสัมพันธ์ (5) สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านกาหยี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3069-10(2)-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านกาหยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด