กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย


“ โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านน้ำดำ ”

ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจรีย์ วงษ์สวัสดิ์

ชื่อโครงการ โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านน้ำดำ

ที่อยู่ ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3069-10(2)-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านน้ำดำ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านน้ำดำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านน้ำดำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3069-10(2)-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542หมวดที่ 1 ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โรงเรียนจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในระดับสถานศึกษา ให้นักเรียนได้ตระหนักถึงการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน จากสถานการณ์ด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนบ้านน้ำดำภาพรวมส่วนใหญ่กว่า 80% น้ำหนักส่วนสูงสมส่วน แต่ก็มีภาวะโภชนาเกิน และทุพโภชนาการ อยู่จำนวนหนึ่ง ซึ่งนักเรียนอนุบาลและนักเรียนประถมศึกษาบางคนไม่ชอบกินผัก และชอบบริโภคขนมและ น้ำหวาน สิ่งสำคัญที่สุดคือ วัตถุดิบในการประกอบอาหาร อาจจะมาจากแหล่งผลิตและวิธีการผลิตโดยใช้สารเคมีหรือไม่ ทำให้การบริโภคผักไม่ปลอดภัย ด้วยเหตุนี้โรงเรียนพัฒนศึกษาได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจากการบริโภค อาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการของนักเรียนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการบริโภค ผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาพในโรงเรียนขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีของนักเรียน รวมถึงการสร้างประสบการณ์เรียนรู้ นักเรียนได้มีทักษะเพื่อนำไปใช้แนวทางในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ ผักที่ปลูกทางโรงเรียนเน้นผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง แตงกวา กะเพรา โหระพา พริก มะเขือ ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย เป็นต้น ซึ่งนักเรียนแต่ละระดับชั้นจะทำการแบ่งกลุ่มลงแปลงปลูกผัก ดูแลผลผลิต จนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิตขายเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน ซึ่งทุกคนสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปรับใช้ที่บ้าน จนสามารถมีแปลงปลูกผักและมีพืชผักไว้กินและเหลือจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับครอบครัวต่อไป ร้อยละ 95ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
ร้อยละ 90ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีผลผลิตจากโครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและมีทักษะชีวิต
  3. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ลดค่าใช้จ่ายและมีการเจริญเตฺิบโตเหมาะสมตามช่วงวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียน
  2. 2. การสาธิตการปลูกผัก
  3. 3. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์
  4. 4. กิจกรรมอาหารกลางวันผักปลอดสารพิษ
  5. 5. กิจกรรมจัดทำแบบสรุปรายงานการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
  2. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและมีทักษะชีวิต
  3. โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ลดค่าใช้จ่ายและนักเรียนมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามช่วงวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
80.00 95.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและมีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
85.00 90.00

 

3 เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ลดค่าใช้จ่ายและมีการเจริญเตฺิบโตเหมาะสมตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้นอนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีผลผลิตจากโครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 137
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและมีทักษะชีวิต (3) เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตที่สามารถนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ลดค่าใช้จ่ายและมีการเจริญเตฺิบโตเหมาะสมตามช่วงวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียน (2) 2. การสาธิตการปลูกผัก (3) 3. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์ (4) 4. กิจกรรมอาหารกลางวันผักปลอดสารพิษ (5) 5. กิจกรรมจัดทำแบบสรุปรายงานการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านน้ำดำ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3069-10(2)-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจรีย์ วงษ์สวัสดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด