กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560 ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางหาสน๊ะ โต๊ะกูบาฮา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4137-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4137-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก จากรายงานขององค์การวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ (International Agency Researh on Cancer : IARC) / องค์การอนามัยโลก (WHO) ในปี พ.ศ 2558พบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามรายใหม่ปีละ 493,443 คน และตายปีละ 273,302 คน และใน 5 ปี จะมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ 1,504,295 คนมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับ 2ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้านม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็งของสตรีไทยเป็นต้นเหตุทำให้ผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 650 คนโดยมีสถิติของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน จากสถิติในปี 2550 พบผู้ป่วยใหม่ ประมาณ 7,000 รายมีผู้เสียชีวิต ประมาณ 3,500 ราย หรือ 9 รายต่อวันพบมากที่สุดระหว่างอายุ 45- 50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมากคาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และรายเก่าที่ต้องติดตามการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 60,000 คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด 5 ปี จะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรก จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน ในการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มสตรีอายุ 30 – 60 ปีมาอย่างต่อเนื่องทุกปี ในปี 2559 พบผู้ป่วยเป็นมะเร็งเต้านม 2 รายส่งผลให้มีการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองแบบต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการรวบรวมเจ้าหน้าที่ในต่างพื้นที่เข้ามาทำงานร่วมกัน การสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มเป้าหมาย การส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย ทำให้ผลการตรวจคัดกรองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้รูปแบบการตรวจคัดกรองที่เหมาะสมที่สุดต่อไป โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560 สามารถดูแลป้องกันรักษาได้ในระยะแรกๆ และป้องกันที่ดีที่สุดคือ การค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและป้องกันตนเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ซึ่งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อนได้เล็งเห็นความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุดจึงได้จัดทำโครงการโครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
  2. 2. เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ เมื่อพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก่อสม. และแกนนำกลุ่มเป้าหมายกับผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกที่กำลังได้รับการรักษาอยูในขณะนี้
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและกำหนดตรวจในสถานบริการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
  2. หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
  3. กลุ่มที่ได้รับการตรวจ เมื่อพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก่อสม. และแกนนำกลุ่มเป้าหมายกับผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกที่กำลังได้รับการรักษาอยูในขณะนี้

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเครือข่าย เพื่อค้นหาและเลือกวิธีการใหม่ๆ ในการชักชวน กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร้งปากมดลูกและกลุ่มสำรวจเป้าหมายที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ 2.จัดประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก่ อสม. และแกนนำกลุ่มเป้าหมายกับผู้ป่วยที่ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกที่กำลังได้รับการรักษาอยู่ในขณะนี้ 3.แบ่งพื้นที่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่แก่ อสม. และแกนนำ เพื่อติดตาม แนะนำและนำส่งกลุ่มเป้าหมายเข้าตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 4.แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์แก่ อสม. แกนนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเครือข่าย เพื่อค้นหาและเลือกวิธีการใหม่ๆ ในการชักชวน กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร้งปากมดลูกและกลุ่มสำรวจเป้าหมายที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ 2.จัดประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก่ อสม. และแกนนำกลุ่มเป้าหมายกับผู้ป่วยที่ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกที่กำลังได้รับการรักษาอยู่ในขณะนี้ 3.แบ่งพื้นที่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่แก่ อสม. และแกนนำ เพื่อติดตาม แนะนำและนำส่งกลุ่มเป้าหมายเข้าตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 4.แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์แก่ อสม. แกนนำ

 

30 0

2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและกำหนดตรวจในสถานบริการ

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ เมื่อพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 (2) 2. เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 (3) 3. เพื่อให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ เมื่อพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก่อสม. และแกนนำกลุ่มเป้าหมายกับผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกที่กำลังได้รับการรักษาอยูในขณะนี้ (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและกำหนดตรวจในสถานบริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ปี 2560 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4137-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหาสน๊ะ โต๊ะกูบาฮา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด