กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พะตง


“ โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวทาวินี บุญเหลือ ผู้อำนวยการกองการศึกษา ฯ รักษาราชการแทน หัวหน้าสำนักปลัด

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5279-01-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5279-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย พบว่ามีการแพร่ระบาดของเชื้อ(COVID-19) ไปในหลายพื้นที่ในหลายจังหวัดและยังไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้ ข้อมูลจากสถิติของศูนย์ข้อมูล COVID-19 ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2564 รายงานข้อมูลผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อ  ในประเทศไทยในปัจจุบันมีจำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมแล้ว 386,307 ราย กำลังรักษาตัวอยู่ 122,097 ราย และเสียชีวิตสะสม 3,328 ราย และข้อมูลสถิติรายวัน มีผู้ป่วยรายใหม่ 11,784 ราย หายป่วย 5,741 ราย และเสียชีวิต 81 ราย โดยคาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มของผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น จนเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลในการรองรับเตียงสำหรับผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาลที่มีจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกแนวทางการแยกกักตัวที่บ้าน (Home isolation) และกักกันตัวในชุมชน (Community isolation) เพื่อรองรับผู้ป่วย(สีเขียว) ในชุมชน และในสถานการณ์จังหวัดสงขลายังมีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และมีบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการกักตัว ดังนั้น เพื่อให้การกักกันตัวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามหลักสาธารณสุขและเป็นการบูรณาการสถานที่กักกันให้เป็นภาพรวมของจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อม และป้องกันให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวในจังหวัดสงขลา จึงจำเป็นต้องจัดตั้งสถานที่กักกัน สถานที่คุมไว้สังเกตอาการ เพื่อรองรับกลุ่มบุคคลดังกล่าว ดังนั้น เพื่อให้เกิดการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19)    ในพื้นที่อย่างเร่งด่วน อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มาตรา 67 (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท. 0808.2/ว 4116 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ประกอบกับหนังสือจังหวัดสงขลา ที่ สข 0018.1/ว 5807 ลงวันที่ 7 กันยายน 2564 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์กักกันตัวชุมชน (CI) จังหวัดสงขลา โดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีความเห็นชอบให้กำหนดสถานที่ตั้งตั้งศูนย์กักกันชุมชน (CI) ในระดับพื้นที่ภายในจังหวัดสงขลา ปรากฏตามคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ที่ 104/2564 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์กักกันตัวชุมชน (CI) จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2564 ทั้งนี้ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมสนับสนุนการดำเนินการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) เพื่อเตรียมการรองรับผู้ป่วยสีเขียว ดำเนินการจัดหาสถานที่ เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ต่างที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้ง และอาหาร น้ำดื่มแก่ผู้กักกันตัวหรือผู้ป่วยสีเขียว รวมทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานประจำ Community Isolation
องค์การบริหารส่วนตำบลพะตง จึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตรายไวรัส โคโรนา 2019 ขององค์การบริหารส่วนตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อให้สามารถควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคให้อยู่ในวงจำกัด รวมถึงดูแลประชาชนให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลพะตงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อรองรับกลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) อาการไม่รุนแรง ได้ทันท่วงที 2. เพื่อใช้เป็นสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. เพื่อการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) มีความพร้อมสามารถรองรับกลุ่มผู้ป่วย    (สีเขียว) ได้ทันท่วงที
  2. มีสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  3. มีการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สามารถรองรับกลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) อาการไม่รุนแรง ได้ทันท่วงที และใช้เป็นสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำให้ป้องกัน ควบคุมการแพร่ เฝ้าระวัง และระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อรองรับกลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) อาการไม่รุนแรง ได้ทันท่วงที 2. เพื่อใช้เป็นสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. เพื่อการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
200.00 200.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรองรับกลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) อาการไม่รุนแรง ได้ทันท่วงที 2. เพื่อใช้เป็นสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. เพื่อการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันชุมชน (Community Isolation) และ ศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (Local Quarantine) สำหรับควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตราย ไวรัสโคโรนา 2019 ขององค์การบร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5279-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวทาวินี บุญเหลือ ผู้อำนวยการกองการศึกษา ฯ รักษาราชการแทน หัวหน้าสำนักปลัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด