กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการเด็กสุขภาพดี นักเรียนและวัยรุน่ไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ใส่ใจอนามัยแม่และเด็ก ปี2560 ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด

ชื่อโครงการ โครงการเด็กสุขภาพดี นักเรียนและวัยรุน่ไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ใส่ใจอนามัยแม่และเด็ก ปี2560

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กสุขภาพดี นักเรียนและวัยรุน่ไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ใส่ใจอนามัยแม่และเด็ก ปี2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กสุขภาพดี นักเรียนและวัยรุน่ไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ใส่ใจอนามัยแม่และเด็ก ปี2560



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิดถึง5ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ วัยรุ่นและผู้ปกครอง มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๑๓๐ คน แบ่งเป็น วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี จำนวน ๕๐ คน ผู้ปกครองวัยรุ่น ๕๐ คน หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล ๓๐ คน ๒. กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีผู้เข้าร่วม ๑๓๘ คน แบ่งเป็น ผู้ปกครอง ๒๑๘ คน หนูน้อยสุขภาพดี ๒๐ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมกับเครือข่าย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก รพ.สต.บ้านเขาแดง (เดือนตุลาคม-มกราคม 2560) พบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุต่ำกว่า 19 ปี จำนวน 4 ราย จากจำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.52 ซึ่งตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพต้องไม่เกินร้อยละ 10 สาเหตุเกิดจากการขาดความรู้ และผลกระทบที่เกิดขึ้นในมารดาที่ตั้งครรภ์อายุน้อย รวมทั้งจากการคัดกรองพัฒนาการเด็กในช่วงอายุ0-5ปีของรพ.สต.บ้านเขาแดง จำนวนเด็กทั้งหมด 184 คน มีพัฒนาการปกติ 182 คน คิดเป็นร้อยละ 98.91 เด็กพัฒนาการไม่สมวัย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.08 นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี กว่าร้อยละ 40 ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการประเมินและคัดกรองพัฒนาการเด็กเบื้องต้น จึงมีความจำเป็นและเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการดูแลอนามัยแม่และเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิดถึง5ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 184
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง
    2. เด็ก0-5ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ กระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องโดยผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 95 และในรายที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย ได้รับการส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติ
    3. เด็กอายุ0-5ปี ได้รับการติดตามภาวะโภชนาการร้อยละ 90 และมีส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วนร้อยละ 50
    4. เด็กวัยเรียน (6-14ปี) มีส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน
    5. หญิงมีครรภ์ไม่มีภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. - อบรมนักเรียนและวัยรุ่นอายุ 10-19 ปี จำนวน 50 คน - อบรมผู้ปกครองนักเรียนและวัยรุ่น จำนวน 50 คน - อบรมเรื่องการดูแลและการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์แก่หญิงมีครรภ์และผู้ดูแลจำนวน30คน

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมความรู้การตั้งครรภ์ในวัยเรียน วัยรุ่นและหญิงตั้งครรภ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมโครงการ อบรมให้ความรู้ จำนวน 50 คน

     

    130 0

    2. 1 ประเมินโภชนาการในหมู่บ้านจำนวน 2 ครั้ง 2. ติดตามเด็กมีภาวะทุพโภชนาการและเด็กที่พัฒนาการสงสัยล่าช้า 3.อบรมผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยและภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ 4.ประกวดนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการจากวัสดุเห 4.

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเมินภาวะโภชนาการในหมู่บ้าน มีการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเด็กพัฒนาการล่าช้า
    อบรมผู้ปกครองส่งเสริมพัมนาการเด็กและภาวะโภชนาการ ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ตามโครงการ มีจำนวน  ๑๖ คน แบ่งเป็นรางวัลที่ ๑จำนวน ๑ คน รางวัลที่ ๒ จำนวน ๑ คน รางวัลที่ ๓ จำนวน ๒ คน และรางวัลชมเชยจำนวน ๑๒ คน ผลการประกวดการปรุงอาหารเสริมจากทรัพยากรท้องถิ่นสำหรับเด็ก ได้แก่ ๑. เมนูต้มจืดเต้าหู้ไก่สับ ๒. เมนูข้าวผัดรวมมิตรกุ้ง ๓. เมนูแกงจืดผักรวมมิตรไก่

     

    184 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ๑๐-๑๙ปี ร้อยละ ๒๕ (เป้า ๔ คน ผลงาน ๑ คน) ๒. เด็ก ๐-๖ ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ ร้อยละ ๙๘.๕๗ (เป้าหมาย ๑๔๐ คน ผลงาน ๑๓๘ คน) ๓. เด็ก ๐-๖ ปี ได้รับยการประเมินพัฒนาการและมีพัฒนาการสงสัะยล่าช้าได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองร้อยละ ๑๐๐ (เป้าหมาย ๓๖ คน ผลงาน ๓๖ คน.) ๔. เด็กที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองแล้ว ยังมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อร้อยละ ๑๐๐ (เป้าหมาย ๓ คน ผลงาน ๓ คน)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ 10-19ปี ไม่เกินร้อยละ 10
    25.00

    หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ 10-19ปี ร้อยละ 25 (เป้า4/ผลงาน1)

    2 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิดถึง5ปี
    ตัวชี้วัด : 1. เด็ก 0-5ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ กระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องโดยผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 95 และในรายที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย ละได้รับการส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติ 2. เด็กอายุ 9เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กร้อยละ 100
    98.57

    เด็ก 0-ุ6ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ ร้อยละ 98.57 (เป้า 140 ผลงาน138) เด็ก 0-6 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการและมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการส่งต่อร้อยละ 100 (เป้า3ผลงาน3คน)

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 264 318
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 184 20
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
    กลุ่มวัยทำงาน 0 218
    กลุ่มผู้สูงอายุ 0
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิดถึง5ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ วัยรุ่นและผู้ปกครอง มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๑๓๐ คน แบ่งเป็น วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี จำนวน ๕๐ คน ผู้ปกครองวัยรุ่น ๕๐ คน หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล ๓๐ คน ๒. กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีผู้เข้าร่วม ๑๓๘ คน แบ่งเป็น ผู้ปกครอง ๒๑๘ คน หนูน้อยสุขภาพดี ๒๐ คน

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมกับเครือข่าย

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กสุขภาพดี นักเรียนและวัยรุน่ไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ใส่ใจอนามัยแม่และเด็ก ปี2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประชา หนูหมาด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด