กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยแอโรบิกตำบลน้ำขาว
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมแอโรบิก หมู่ที่ 2 บ้านคูตีน
วันที่อนุมัติ 25 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 21,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางพเยาว์ ศรีสุวรรณ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
70.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
90.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
70.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
70.00
5 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
75.00
6 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยวิธีชีวิตของคนในปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไปมีเทคโนโลยีช่วยในการทำงานทำให้เกิดความสะดวกสบายมากขึ้นแต่ะมีภาระงานที่เพิ่มมากขึ้น ประชาชนจึงออกกำลังกายน้อยลงทำให้สุขภาพร่างกายของประชาชนในปัจจุบันไม่ดีนัก วัดได้จากสภาวะสุขภาพที่ดีคนเป็นโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณะสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนซึ่งถ้าหากประชาชนได้รับการแนะนำการออกกำลังกายที่ถูกวิธีและสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาและส่งเสริมสุขภาพกายและใจได้บ้าง มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางรางกาย จิตใจ สังคม อารมณ์และสติปัญญา โดยให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

70.00 75.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

90.00 92.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 80.00
4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

70.00 80.00
5 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

75.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 21,400.00 3 21,400.00
15 ก.พ. 65 - 30 ก.ย. 65 ฝึกปฏิบัติและออกกำลังกาย 0 21,000.00 21,000.00
1 - 10 เม.ย. 65 ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 0 400.00 400.00
11 - 15 เม.ย. 65 ประเมินภาวะสุขภาพ ก่อนและหลัง ทำโครงการ 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีสัดส่วน รูปร่าง และสุขภาพ ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2564 13:20 น.