กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคเลปโตสไปโรซิส ”

ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี นวลขาว

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคเลปโตสไปโรซิส

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3311-02-10 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคเลปโตสไปโรซิส จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคเลปโตสไปโรซิส



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออกและเลปโตสไปโรซิส (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรค (3) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยและการเกิดโรคของผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ในปี 2563-2564 ซึ่งรับผิดชอบจำนวน 3 หมู่บ้าน พบผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) สะสม 795 ราย เสียชีวิต 2 ราย ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงสะสม 1,170 ราย และจากการติดตามโรคติดต่อที่สำคัญและเป็นปัญหาในพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยในปี พ.ศ.2563 คือ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและเกิดการระบาดในพื้นที่ จำนวน 8 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 288.29 ต่อแสนประชากร ทั้งบริบทพื้นที่และอาชีพของประชากร ในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซิส จากการดำเนินงานการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรคไข้เลือดออก และเลปโตสไปโรซิส ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มีผู้ติดเชื้อมีแนวโน้มลดลง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ปัญหา/อุปสรรค การแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง สาเหตุหลีกเลี่ยงยาก เพราะเป็นในกลุ่มคลัสเตอร์ครอบครัว

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็วสามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ(ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ(อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (เลปโตสไปโรซิส,มือ เท้า ปาก) ซึ่งประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค ดังนั้นการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้อง รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ สามารถควบคุมโรคและลดการแพร่กระจายของโรคได้ จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ในปี พ.ศ.2563-2564 ซึ่งรับผิดชอบ จำนวน 3 หมู่บ้าน พบผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโรโรนา(COVID-19) สะสม 32 ราย เสียชีวิต 1 ราย ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงสะสม 170 ราย และจากการติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและเดินทางมาจากต่างประเทศและต่างจังหวัด จำนวน 4 และ 947 ราย ตามลำดับ กอปรกับโรคติดต่อที่สำคัญและเป็นปัญหาในพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยในปี พ.ศ.2563 คือ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดอออกและเกิดการระบาดในพื้นที่ จำนวน 8 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 288.29 ต่อแสนประชากร ทั้งบริบทพื้นที่และอาชีพของประชากรในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซิส ดังนั้นจำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออก และเลปโตสไปโรซิส ให้ทันต่อเหตุการณ์เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และการป้องกันโรคติดต่อต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออกและเลปโตสไปโรซิส
  2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรค
  3. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยและการเกิดโรคของผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 2.ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ได้รับอุปกรณ์การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ 3.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ในปี 2563-2564 ซึ่งรับผิดชอบจำนวน 3 หมู่บ้าน พบผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) สะสม 795 ราย เสียชีวิต 2 ราย ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงสะสม 1,170 ราย และจากการติดตามโรคติดต่อที่สำคัญและเป็นปัญหาในพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยในปี พ.ศ.2563 คือ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและเกิดการระบาดในพื้นที่ จำนวน 8 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 288.29 ต่อแสนประชากร ทั้งบริบทพื้นที่และอาชีพของประชากร ในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซิส จากการดำเนินงานการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรคไข้เลือดออก และเลปโตสไปโรซิส ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มีผู้ติดเชื้อมีแนวโน้มลดลง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออกและเลปโตสไปโรซิส
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซิส มากกว่าร้อยละ 80
    0.00

     

    2 เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรค
    ตัวชี้วัด : ลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อลงได้
    0.00

     

    3 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยและการเกิดโรคของผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อัตราการเจ็บป่วยและการเกิดโรคของผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35 35
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35 35
    กลุ่มวัยทำงาน 50 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 20
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30 30
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออกและเลปโตสไปโรซิส (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรค (3) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยและการเกิดโรคของผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ในปี 2563-2564 ซึ่งรับผิดชอบจำนวน 3 หมู่บ้าน พบผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) สะสม 795 ราย เสียชีวิต 2 ราย ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงสะสม 1,170 ราย และจากการติดตามโรคติดต่อที่สำคัญและเป็นปัญหาในพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยในปี พ.ศ.2563 คือ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและเกิดการระบาดในพื้นที่ จำนวน 8 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 288.29 ต่อแสนประชากร ทั้งบริบทพื้นที่และอาชีพของประชากร ในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซิส จากการดำเนินงานการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรคไข้เลือดออก และเลปโตสไปโรซิส ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มีผู้ติดเชื้อมีแนวโน้มลดลง

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่
    ปัญหา/อุปสรรค การแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง สาเหตุหลีกเลี่ยงยาก เพราะเป็นในกลุ่มคลัสเตอร์ครอบครัว

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคเลปโตสไปโรซิส จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2565-L3311-02-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพรรณี นวลขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด