กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุณีย์ศรีเทพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3306-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3306-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์มะเร็งในประเทศไทย มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย ระบุโรคมะเร็งยังเป็นความท้าทายของวงการแพทย์ไทย โดยสถิติล่าสุดพบคนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง ๕๖,๐๕๘ ราย หรือ ๘,๘๓๔ รายต่อประชากร ๑ แสนคน คิดเป็น ๔,๖๗๑ รายต่อเดือน หรือ ๑๕๖ รายต่อวัน เพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ๑๐.๗ โดยมะเร็งเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับ ๑ และสาเหตุการเสียชีวิตของมะเร็งที่สำคัญอันดับ๑ คือมะเร็งตับ และทางเดินน้ำดี ตามด้วยมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และปากมดลูก (พ.ญ.สุดสวาท เลาหวินิจ,๒๕๕๔๖) มีรายงาน เมื่อ ปี ๒๕๕๔ ของจังหวัดพัทลุง โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่ง (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข )สถานการณ์โรคมะเร็งเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ พบรายงานผู้ป่วยโรคมะเร็ง คิดเป็น ๒๗๑.๒๘ ต่อแสนประชากร โดยสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทที่สำคัญ คือเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือภายนอกร่างกาย ซึ่งปัจจุบันนี้เชื่อกันว่ามะเร็งส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุ ได้แก่ สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม สารเคมีที่ใช้ในขบวนการถนอมอาหาร จากพฤติกรรมบางอย่าง เช่น การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น และเกิดจากความผิดปกติภายในร่างกาย เช่น เด็กที่มีความพิการมาแต่กำเนิดมีโอกาสเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว เป็นต้น (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ,๒๕๕๔) ซึ่งในปัจจุบันสาเหตุประการแรกเกิดโรคมากที่สุดเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารต่างๆที่หลากหลาย และสารเคมีที่ตกค้างจากพืชผักสวนครัวที่ซื้อตามท้องตลาด ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อโรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น อีกทั้งประชากรส่วนใหญ่เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก คิดเป็นร้อยละ ๕๙.๔๙
ด้วยเหตุนี้ทางคณะทำงานคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระจึงเล็งเห็นความสำคัญผลกระทบของโรคดังกล่าว และสุขภาพของเกษตรกร จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้ ปี ๒๕60 ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูปริมาณสารเคมีตกค้าง และเพื่อปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงให้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  2. เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างจากการใช้้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสุขภาพที่ถูกต้อง
  4. เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดปัจจัยแวดล้อมในเอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ในประเด็นดังต่อไปนี้ 4.1เพื่อให้ชุมชนมีแปลงผัก และมาตรการทางสังคมด้านสุขภาพของชุมชน 4.2เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกผักไว้บริโภคเอง อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด 4.3เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสารเคมี ครั้งที่ 1
  2. ตรวจสารเคมี ครั้งที่ 2
  3. จัดซื้อวัสดุ+อุปกรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3.กลุ่มเกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง 4.ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ในประเด็นต่อไปนี้ชุมชนมีแปลงผักและมาตรการทางสังคมด้านสุขภาพของชุมชน ครัวเรือนมีการปลูกผักไว้บริโภคเอง อย่างน้อยครัวเรือนละ5 ชนิด และประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการฯ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด คิดเป็นร้อยละ 10

 

2 เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างจากการใช้้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากผลการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด เปรียบเทียบ 2 ครั้ง

 

3 เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : จำนวนเกษตรกรที่เข้ารับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 60

 

4 เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดปัจจัยแวดล้อมในเอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ในประเด็นดังต่อไปนี้ 4.1เพื่อให้ชุมชนมีแปลงผัก และมาตรการทางสังคมด้านสุขภาพของชุมชน 4.2เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกผักไว้บริโภคเอง อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด 4.3เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ปริมาณครัวที่ปลูกผักไว้สำหรับบริโภคเองมีเพิ่มมากขึ้น

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (2) เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างจากการใช้้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสุขภาพที่ถูกต้อง (4) เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดปัจจัยแวดล้อมในเอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ในประเด็นดังต่อไปนี้ 4.1เพื่อให้ชุมชนมีแปลงผัก และมาตรการทางสังคมด้านสุขภาพของชุมชน 4.2เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกผักไว้บริโภคเอง อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด 4.3เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสารเคมี ครั้งที่ 1 (2) ตรวจสารเคมี ครั้งที่ 2 (3) จัดซื้อวัสดุ+อุปกรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ และการบริโภคสารเคมีจากพืช ผัก ผลไม้ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3306-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุณีย์ศรีเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด