กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิทวัสศักดิ์แสง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3306-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กันยายน 2560 ถึง 12 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3306-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กันยายน 2560 - 12 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือที่เราเรียกย่อ ๆ ว่า อสม. นั้น เป็นรูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยผ่านกระบวนการอบรมให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และการปฏิบัติงานด้วยความเสียสละต่อประชาชนในหมู่บ้าน กระทรวงสาธารณสุขได้เริ่มดำเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๐เป็นต้นมา อสม. จึงเพิ่มจำนวนมากขึ้นตามลำดับจนครอบคลุมหมู่บ้านในชนบทและชุมชนเมืองทั่วประเทศมีกว่า 9 แสน 8 หมื่นคน (วิทยา แก้วภาราดัย, ๒๕๕๒)ถึงแม้พลังของอสม.อาจจะดูเล็กน้อยดั่งเม็ดกรวดเม็ดทรายเมื่อยามกระจายอยู่ตามหมู่บ้านและชุมชนต่าง ๆ แต่เมื่อมีการรวมตัวเป็นกลุ่มเป็นชมรมฯ พลังเหล่านี้ก็มีความมั่นคงดั่งภูผา พร้อมที่จะต่อสู้และก้าวนำไปสู่การพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน และควบคุม ตลอดจนเป็นผู้นำในการสร้างสุขภาพให้แก่ชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดระบบสุขภาพชุมชนได้อย่างเหมาะสมด้วยตัวชุมชนเอง ภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ เช่น อบต. รพ.สต. เป็นต้น ซึ่งบทบาทของการเป็นผู้นำการจัดการสุขภาพภาคประชนของอสม.ต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ ก้าวไกล และรู้ทันการแพร่ระบาดของโรคยุคสมัยใหม่ ต้องมีการเรียนรู้การทำงานของเครือข่ายที่สามารถนำมาเป็นแบบอย่างได้โดยเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านโล๊ะจังกระ มีอสม.รวม ๖8 คน สามารถครอบคลุมการทำงาน ในพื้นที่ ๓ หมู่บ้านคือ หมู่ที่ ๕ , ๙ และ๑๐ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุงซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมา อสม. ได้ให้ความร่วมมือและมีบทบาทในด้านการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค ให้กับชุมชนเป็นอย่างดี ซึ่งในการดำเนินงานดังกล่าว จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมด้านวิชาการ อย่างสม่ำเสมอรวมถึงการศึกษาดูงานต่างชุมชนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการดำรงชีวิตและปัญหาสุขภาพของแต่ละชุมชนให้กับอสม.และผู้นำชุมชน สามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชุมชนตนเองได้ รพ.สต.บ้านโล๊ะจังกระ เล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาศักยภาพอสม.ให้มีความรู้ก้าวไกลและรู้ทันการแพร่ระบาดของโรคยุคสมัยใหม่ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านประจำปี ๒๕60 ขึ้น เพื่อส่งเสริมด้านองค์ความรู้และหาประสบการณ์ให้กับอสม.สามารถนำมาพัฒนางานสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมด้านกิจกรรมแก่ อสม. ให้มีความสามัคคีและมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการดำเนินงานสาธารณสุขในชุมชนภายใต้สโลแกนมีความรู้ ก้าวไกล และรู้ทันการแพร่ระบาดของโรคยุคสมัยใหม่
  3. เพื่อหาแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการดำรงชีวิตและปัญหาสุขภาพของแต่ละชุมชนและ สามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานในชุมชนตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 84
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. กลุ่มเป้าหมายสามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานในพื้นที่ได้ ๒. กลุ่มเป้าหมายมีความกระตือรือร้นต่อการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขมากขึ้น ๓. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ก้าวไกล รู้ทันการแพร่ระบาดของโรคยุคสมัยใหม่และการทำงานเชิงรุกมากขึ้น
    4.รองรับแผนการทำงาน สนองยุทธศาสตร์สร้างนำซ่อมเพื่อเป็นหมู่บ้านจัดการสุขภาพได้ด้วยตัว ชุมชนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมด้านกิจกรรมแก่ อสม. ให้มีความสามัคคีและมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน
    ตัวชี้วัด : . มีความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ร้อยละ90

     

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการดำเนินงานสาธารณสุขในชุมชนภายใต้สโลแกนมีความรู้ ก้าวไกล และรู้ทันการแพร่ระบาดของโรคยุคสมัยใหม่
    ตัวชี้วัด : มีความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ร้อยละ90

     

    3 เพื่อหาแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการดำรงชีวิตและปัญหาสุขภาพของแต่ละชุมชนและ สามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานในชุมชนตนเองได้
    ตัวชี้วัด : มีความรู้ความเข้าใจในต่อกระบวนการพัฒนางานด้านสุขภาพภาคประชาชน ร้อยละ80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 84
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 84
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมด้านกิจกรรมแก่ อสม. ให้มีความสามัคคีและมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการดำเนินงานสาธารณสุขในชุมชนภายใต้สโลแกนมีความรู้ ก้าวไกล และรู้ทันการแพร่ระบาดของโรคยุคสมัยใหม่ (3) เพื่อหาแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการดำรงชีวิตและปัญหาสุขภาพของแต่ละชุมชนและ สามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานในชุมชนตนเองได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3306-2-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิทวัสศักดิ์แสง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด