กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิทวัส ศักดิ์แสง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3306-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 12 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3306-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 12 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ได้กลับมาเป็นโรคติดต่อที่อันตรายและมีความรุนแรงมาก มีผลกระทบต่อมวลมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง โรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ในจังหวัดพัทลุง ๕ อันดับโรคแรก ได้แก่ อันดับที่ ๑ โรคอุจจาระร่วง พบผู้ป่วยจำนวน 4,705 ราย (คิดเป็น 900.๙4 ต่อแสนประชากร)โรคปอดบวม พบผู้ป่วยจำนวน 742 ราย (คิดเป็น 142.08 ต่อแสนประชากร)อันดับที่ ๓ โรคตาแดง พบผู้ป่วยจำนวน 621 ราย (คิดเป็น 118.91 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๔ โรคสุกใส พบผู้ป่วยจำนวน 257 ราย (คิดเป็น 49.21 ต่อแสนประชากร)และอันดับที่ ๕ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยจำนวน 166 ราย (คิดเป็น 31.79 ต่อแสนประชากร)สอดคล้องของอำเภอกงหรา พบโรคติดต่อที่เป็นปัญหา ๕ อันดับโรคแรก ได้แก่ อันดับที่ ๑ โรคอุจจาระร่วง พบผู้ป่วยจำนวน 856 ราย (คิดเป็น 2,497.96 ต่อแสนประชากร)อันดับที่ ๒ โรคตาแดง พบผู้ป่วยจำนวน 200 ราย (คิดเป็น 583.63 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๓ โรคปอดบวม พบผู้ป่วยจำนวน 129 ราย (คิดเป็น 374.44 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๔ โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วยจำนวน 58 ราย (คิดเป็น 169.25 ต่อแสนประชากร) และอันดับที่ ๕ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยจำนวน ๒2 ราย (คิดเป็น 64.35 ต่อแสนประชากร)และสอดคล้องกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ ซึ่งรับผิดชอบ ๓ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๕ ๙ และหมู่ที่ ๑๐ ตำบลคลองเฉลิมปีที่ผ่านมาโรคติดต่อที่เป็นปัญหา ๖ อันดับโรคแรก ได้แก่ อันดับที่ ๑ โรคอุจจาระร่วง พบผู้ป่วยจำนวน 24 ราย (คิดเป็น 828.16 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๒ โรคตาแดง พบผู้ป่วยจำนวน 4 ราย (คิดเป็น 138.03 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๓ โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยจำนวน 4 ราย (คิดเป็น 138.03 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๔ โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วยจำนวน 3 ราย (คิดเป็น 103.52 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๕ โรคปอดบวม พบผู้ป่วยจำนวน 2 ราย (คิดเป็น 69.01 ต่อแสนประชากร) อันดับที่ ๖ โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วยจำนวน 2 ราย (คิดเป็น 69.01 ต่อแสนประชากร) ซึ่งปัญหาสาธารณสุขระดับพื้นที่เมื่อเปรียบเทียบระดับจังหวัด และอำเภอ พบว่า โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดงโรคมือเท้าปาก โรคคางทูม มีอัตราป่วยสูงกว่า และโรคที่มีแนวโน้มจะระบาดเกิดขึ้นใน ปี ๒560 ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคมือเท้าปาก อีกทั้งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายให้มีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) และกำหนดบทบาทของทีม SRRT ดังนี้ เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดรวดเร็วรุนแรง ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพทันการ ควบคุมโรคฉุกเฉิน/ขั้นต้น เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาด และแลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรคและร่วมมือกันเป็นเครือข่าย ดังนั้นในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค สู่รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคติดต่อในพื้นที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรคติดต่อ และเพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
  4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค
  5. เพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ๒. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ ๓. ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
    ๔. ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมและป้องกันโรค ๕. กระบวนการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS มีคุณภาพ อัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง หรือไม่มีเลย

     

    2 เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
    ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อลดลง

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถกำจัดยุงลายได้อย่างถูกวิธี

     

    4 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค
    ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถควบคุมโรคได้ด้วยตนเอง

     

    5 เพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ
    ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคได้มากขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 570
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (2) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ (4) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค (5) เพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3306-2-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิทวัส ศักดิ์แสง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด