บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน ”
ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอนงค์ ชำนิธุระการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร
กรกฎาคม 2565
ชื่อโครงการ บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน
ที่อยู่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5180-2-08 เลขที่ข้อตกลง 06/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน
บทคัดย่อ
โครงการ " บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5180-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายเป็นกิจกรรมของร่างกายที่ช่วยสร้างเสริมและคงไว้ซึ่งสุขภาพและความแข็งแรงของร่างกาย การออกกำลังกายช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และระบบไหลเวียนโลหิต รวมทั้งสร้างเสริมทักษะทางกีฬา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันและช่วยป้องกันโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วน นอกจากนี้การออกกำลังกายยังช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตและลดความเครียดได้ ดังนั้นการส่งเสริมให้ประชาชนหันมาให้ความสนใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนต้องช่วยกันรณรงค์ให้ความสำคัญ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
บ้านหัวควน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานโครงการ
- ออกกำลังกายให้ได้เหงื่อ
- ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่
- สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
จากปัญหาที่พบในปัจจุบัน พี่น้องบ้านหัวควนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรัง (โรคเบาหวาน ความดัน อ้วนลงพุง ฯลฯ) จะต้องไปโรงพยาบาล และรับประทานยาเป็นประจำ และข้อคิดคำแนะนำจากโรงพยาบาลให้สร้างสุขภาพของพี่น้องบ้านหัวควนให้แข็งแรง จะได้ไม่เจ็บป่วย จึงได้หาวิธีการออกกำลังกายให้กับพี่น้องบ้านหัวควน ได้ข้อสรุปว่าให้บริหารกายให้ได้เหงื่อทุกวันแล้วสุขภาพจะดีขึ้นไม่ต้องไปหาหมอ จึงได้ร่วมกันจัดกิจกรรมออกกำลังกายให้ได้เหงื่อด้วยวิธีง่าย ๆ ได้แก่ การเดิน วิ่งบริหารกายด้วยท่ามือเปล่า เต้นแอโรบิค การเล่นเปตอง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ ทำความสะอาดสถานที่โดยรอบหมู่บ้าน ให้สวยงาม น่าดูน่าชมอีกด้วย กิจกรรมตามโครงการบริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพของบ้านหัวควนนี้นับว่าได้ผล นอกจากสมาชิกชุมชนจะมีสุขภาพดีขึ้นแล้ว สมาชิกในหมู่บ้านยังจะร่วมกันดูแลช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็นอย่างดีอีกด้วย นับว่าโครงการนี้ ได้รับการตอบรับและเข้าร่วมกิจกรรมกันเป็นอย่างดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานโครงการ
วันที่ 1 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
ประชุมวางแผนคณะทำงาน โดยนัด อสม.และผู้นำหมู่บ้านทึกคนพูดคุยเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายงานรับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กรรมการมีความเข้าใจโครงการและรับทราบหน้าที่รับผิดชอบของตนเอง
0
0
2. ออกกำลังกายให้ได้เหงื่อ
วันที่ 10 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
*เยาวชนและสมาชิกในชุมขนออกกำลังการด้วยการเต้นแอโรบิค(รำกลองยาว บาสโลบ)
*เยาวชนและสมาชิกในชุมชนออกกำลังกายด้วยการเล่นเปตอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ ช่วยป้องกันโรคต่างๆ ได้ อีกทั้ง ยังทำให้ เด็ก ๆ เยาวชน ได้ใช้าเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด และเด็กติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ รวมไปถึง กิจการการออกกำลังกายทั้งในเรื่องของการเต้นแอโรบิค และการเล่นเปตอง เป็นกิจกรรมที่สามารถทำร่วมกันได้ทั้งครอบครัว สร้างความรักความอบอุ่นในครอบครัว และความรักความสามัคคีให้กับคนในชุมชนด้วย
0
0
3. ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่
วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เยาวชนและสมาชิกในหมู่บ้านร่วมกันปรับปรุงพัฒนา ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่ โดยประสานงานกับหมู่บ้านในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ กิจกรรมจะมีการเก็บกวาดขยะ ตัดแต่งต้นไม้ ตัดหญ้า สถานที่ ถนนโดยรองหมู่บ้าน รอบสระน้ำวังสัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้สภาพพิ้นที่ ภูมิทัศน์โดยรอบหมู่บ้าน สะอาด เรียบร้อย สวยงาม น่าดูน่าชม การทำกิจกรรมร่วมกันทำให้เกิดความรักสามัคคี ร่่วมกันดูแลและช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็นอย่างดีอีกด้วย
0
0
4. สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการโครงการ เพื่อสรุปโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมในครั้งนี้ทำให้ บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพทุกวัน กิจกรรมการเต้นเอโรบิค รำกลองยาว บาสโลบ รวมไปถึงการเล่นเปตอง การรทำกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สุขภาพร่างกายและจิตใจ ค่อยๆดีขึ้น อีกทั้งการที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ร่วมด้วยช่วยกันพัฒนาหมู่บ้านให้สะอาดน่าอยู่ สวยงาม น่าดูน่าชม ก็ก่อให้ประโยชน์โดยร่วม นอกจากได้ออกกำลังกายให้ได้เหงือแล้ว ยังเป็นการสร้างความรักความสามัคคีภายในชุมชมได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
76.00
80.00
2
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
80.00
85.00
3
เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
75.00
80.00
4
เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
50.00
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ (2) ออกกำลังกายให้ได้เหงื่อ (3) ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่ (4) สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5180-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอนงค์ ชำนิธุระการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน ”
ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอนงค์ ชำนิธุระการ
กรกฎาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5180-2-08 เลขที่ข้อตกลง 06/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน
บทคัดย่อ
โครงการ " บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5180-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายเป็นกิจกรรมของร่างกายที่ช่วยสร้างเสริมและคงไว้ซึ่งสุขภาพและความแข็งแรงของร่างกาย การออกกำลังกายช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และระบบไหลเวียนโลหิต รวมทั้งสร้างเสริมทักษะทางกีฬา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันและช่วยป้องกันโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วน นอกจากนี้การออกกำลังกายยังช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตและลดความเครียดได้ ดังนั้นการส่งเสริมให้ประชาชนหันมาให้ความสนใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนต้องช่วยกันรณรงค์ให้ความสำคัญ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ บ้านหัวควน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานโครงการ
- ออกกำลังกายให้ได้เหงื่อ
- ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่
- สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากปัญหาที่พบในปัจจุบัน พี่น้องบ้านหัวควนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อไม่เรื้อรัง (โรคเบาหวาน ความดัน อ้วนลงพุง ฯลฯ) จะต้องไปโรงพยาบาล และรับประทานยาเป็นประจำ และข้อคิดคำแนะนำจากโรงพยาบาลให้สร้างสุขภาพของพี่น้องบ้านหัวควนให้แข็งแรง จะได้ไม่เจ็บป่วย จึงได้หาวิธีการออกกำลังกายให้กับพี่น้องบ้านหัวควน ได้ข้อสรุปว่าให้บริหารกายให้ได้เหงื่อทุกวันแล้วสุขภาพจะดีขึ้นไม่ต้องไปหาหมอ จึงได้ร่วมกันจัดกิจกรรมออกกำลังกายให้ได้เหงื่อด้วยวิธีง่าย ๆ ได้แก่ การเดิน วิ่งบริหารกายด้วยท่ามือเปล่า เต้นแอโรบิค การเล่นเปตอง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ ทำความสะอาดสถานที่โดยรอบหมู่บ้าน ให้สวยงาม น่าดูน่าชมอีกด้วย กิจกรรมตามโครงการบริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพของบ้านหัวควนนี้นับว่าได้ผล นอกจากสมาชิกชุมชนจะมีสุขภาพดีขึ้นแล้ว สมาชิกในหมู่บ้านยังจะร่วมกันดูแลช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็นอย่างดีอีกด้วย นับว่าโครงการนี้ ได้รับการตอบรับและเข้าร่วมกิจกรรมกันเป็นอย่างดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานโครงการ |
||
วันที่ 1 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำประชุมวางแผนคณะทำงาน โดยนัด อสม.และผู้นำหมู่บ้านทึกคนพูดคุยเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายงานรับผิดชอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกรรมการมีความเข้าใจโครงการและรับทราบหน้าที่รับผิดชอบของตนเอง
|
0 | 0 |
2. ออกกำลังกายให้ได้เหงื่อ |
||
วันที่ 10 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ*เยาวชนและสมาชิกในชุมขนออกกำลังการด้วยการเต้นแอโรบิค(รำกลองยาว บาสโลบ) *เยาวชนและสมาชิกในชุมชนออกกำลังกายด้วยการเล่นเปตอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ ช่วยป้องกันโรคต่างๆ ได้ อีกทั้ง ยังทำให้ เด็ก ๆ เยาวชน ได้ใช้าเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด และเด็กติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ รวมไปถึง กิจการการออกกำลังกายทั้งในเรื่องของการเต้นแอโรบิค และการเล่นเปตอง เป็นกิจกรรมที่สามารถทำร่วมกันได้ทั้งครอบครัว สร้างความรักความอบอุ่นในครอบครัว และความรักความสามัคคีให้กับคนในชุมชนด้วย
|
0 | 0 |
3. ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่ |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเยาวชนและสมาชิกในหมู่บ้านร่วมกันปรับปรุงพัฒนา ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่ โดยประสานงานกับหมู่บ้านในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ กิจกรรมจะมีการเก็บกวาดขยะ ตัดแต่งต้นไม้ ตัดหญ้า สถานที่ ถนนโดยรองหมู่บ้าน รอบสระน้ำวังสัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้สภาพพิ้นที่ ภูมิทัศน์โดยรอบหมู่บ้าน สะอาด เรียบร้อย สวยงาม น่าดูน่าชม การทำกิจกรรมร่วมกันทำให้เกิดความรักสามัคคี ร่่วมกันดูแลและช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็นอย่างดีอีกด้วย
|
0 | 0 |
4. สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการโครงการ เพื่อสรุปโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมในครั้งนี้ทำให้ บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพทุกวัน กิจกรรมการเต้นเอโรบิค รำกลองยาว บาสโลบ รวมไปถึงการเล่นเปตอง การรทำกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สุขภาพร่างกายและจิตใจ ค่อยๆดีขึ้น อีกทั้งการที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ร่วมด้วยช่วยกันพัฒนาหมู่บ้านให้สะอาดน่าอยู่ สวยงาม น่าดูน่าชม ก็ก่อให้ประโยชน์โดยร่วม นอกจากได้ออกกำลังกายให้ได้เหงือแล้ว ยังเป็นการสร้างความรักความสามัคคีภายในชุมชมได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) |
76.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
80.00 | 85.00 |
|
|
3 | เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน |
75.00 | 80.00 |
|
|
4 | เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน |
50.00 | 60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ (2) ออกกำลังกายให้ได้เหงื่อ (3) ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้สะอาดน่าอยู่ (4) สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5180-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอนงค์ ชำนิธุระการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......