กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
1. นายอำนวย คงมี 2. นายเอก รุ่งกลิ่น 3. นางศิชารัชต์ แสงจง 4. นางหนึ่งฤทัย เยาว์แสง 5. นางยุพิน มณีสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3341-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3341-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือโรคที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ แต่เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งจะมีการดำเนินโรคอย่างช้าๆ ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคแล้วมักจะเกิดการเรื้อรังของโรคด้วย สาเหตุหลักสำคัญพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก การมีความเครียดสูง การรับประทานยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ เป็นต้น ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตเช่นนี้จึงมีความเสี่ยงที่จะเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้มากกว่าคนอื่นๆ จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกพบว่า ตลอดช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมากลุ่มกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย โดยมีคนไทยป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังถึง 14 ล้านคน เสียชีวิตกว่า 300,000 คนต่อปี และคาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มี 4 โรคหลัก ได้แก่ กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง, โรคมะเร็ง, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคเบาหวาน ซึ่งมีปัจจัยมาจากพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคหวาน มัน เค็ม และมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ประกอบกับการ เปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต และยังส่งผลให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากภัยเงียบของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าวมาข้างต้น ชมรมสร้างเสริมสุขภาพ อสม.รพ.สต.บ้านทุ่งนารี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของประชาชน จึงร่วมมือกับหน่วยงานด้านสาธารณสุข ชุมชนและเครือข่าย อสม. ในเขตรับผิดชอบจัดทำโครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อให้ประชาชน 15 ปีขึ้นไปได้เข้าถึงการบริการส่งเสริมสุขภาพและกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ต่อเนื่อง ครอบคลุมในทุกมิติทั้งด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ และลดภาวะแทรกซ้อนของโรคในกลุ่มผู้ป่วยปัญหาการดำรงชีวิตของผู้ป่วยและญาติเพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดี ตลอดจนสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหา ตรวจคัดกรอง และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแลต่อเนื่องได้
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแล ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อวัสดุตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,000 คน
  2. จัดอบรม/กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และหรือโรคความดันโลหิตสูง เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในชุมชน
  3. ตรวจสุขภาพประจำปีและให้ความรู้ส่งเสริมการดูแลสุขภาพในกลุ่มป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง) จำนวน 130 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการประสานความร่วมมือในการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมสุขภาพประชาชน
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงครอบคลุมในทุกมิติทั้งด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ เพื่อสุขภาพดีของประชาชน ครอบครัวและชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหา ตรวจคัดกรอง และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับตรวจคัดกรอง และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง และเฝ้าระวังพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.และพฤติกรรมเสี่ยงโรคมะเร็ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
1.00 1.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแลต่อเนื่องได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแลต่อเนื่องทั้งรายกลุ่มและรายบุคคลเพิ่มขึ้น
1.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแล ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแล ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 330
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหา ตรวจคัดกรอง และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแลต่อเนื่องได้ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในการดูแล  ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,000 คน (2) จัดอบรม/กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และหรือโรคความดันโลหิตสูง เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในชุมชน (3) ตรวจสุขภาพประจำปีและให้ความรู้ส่งเสริมการดูแลสุขภาพในกลุ่มป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง) จำนวน 130 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ 2565 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3341-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นายอำนวย คงมี 2. นายเอก รุ่งกลิ่น 3. นางศิชารัชต์ แสงจง 4. นางหนึ่งฤทัย เยาว์แสง 5. นางยุพิน มณีสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด