กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ


“ โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) องค์การบริหารส่วนตำบลนาพละ ”

ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรวิไล ชูจินดา

ชื่อโครงการ โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) องค์การบริหารส่วนตำบลนาพละ

ที่อยู่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1496 -05-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) องค์การบริหารส่วนตำบลนาพละ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) องค์การบริหารส่วนตำบลนาพละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) องค์การบริหารส่วนตำบลนาพละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1496 -05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,188.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยยังคงพบผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มีมาตรการที่สำคัญในการควบคุมโรค โดยมีการค้นหาผู้ติดเชื้อ ดูแลรักษา แยกกัก การกักตัวดูแลรักษาที่บ้าน การจัดตั้งศูนย์พักคอย เตรียมรองรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ ก่อนนำส่งโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนาม โดยร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชนในการแก้ไขปัญหา ในการรองรับผู้ป่วยที่อาจเพิ่มจำนวนขึ้นโดยขอความร่วมมือดัดแปลงสถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงเรียน โรงแรม มหาวิทยาลัย หอประชุม สถานที่ปฏิบัติธรรม ศาลาวัด อาคารของเอกชน ที่ยังไม่ได้ใช้งานหรือสถานที่ราชการ สถานที่เอกชนอื่น ๆ เพื่อให้การดำเนินการป้องกัน ระงับโรค และการรักษาพยาบาล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ ปัจจุบัน อาศัยอำนาจตามมาตรา ๕๐ (๔) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาลตำบล พ.ศ.2๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และมาตรา 16(19)แห่งพระราชบัญญัติกำหนดแผนขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  บัญญัติให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ในงานการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ประกอบกับหนังสือด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว4281 ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2564      เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดตั้งสถานที่ในการป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับมอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดให้รับผิดชอบ หรือร่วมดำเนินการกับหน่วยงานอื่นในการจัดตั้งสถานที่ควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วย (Quarntine) โรงพยาบาลสนามระดับพื้นที่ ศูนย์พักคอยและการแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) และหนังสือจังหวัดตรัง ด่วนที่สุด ที่ ตง 0023.3/ว 4402 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2564 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) โดยอ้างถึงหนังสือด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว4116 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 เรื่องซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิค-19)
ดังนั้น เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคดังกล่าว ไม่ให้ขยายวงระบาดสู่ชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลนาพละ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาพละ ผู้นำท้องที่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จึงจัดทำโครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกันตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้มีที่พักอาศัยระหว่างรอเตียงว่างและลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและ ติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนและเป็นสถานที่รองรับประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลนาพละ ที่เป็นผู้ป่วยยืนยัน COVID-19(กลุ่มสีเขียว)ไว้ดูแลรักษาผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรงและได้รับการส่งตัวมาจากโรงพยาบาล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๗.๑ เกิดการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้ไม่มีการระบาดในพื้นที่ ๗.๒ประชาชนในพื้นที่มีการความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามมาตรการได้ ๗.๓ มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในพื้นที่ ๗.๔ ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการดูแลรักษาและคัดแยกอย่างถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในพื้นที่ และไม่เจ็บป่วยรุนแรงเป็นอันตรายถึงชีวิต ๗.๕ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านป้องกันและควบคุมโรคโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) อย่างมีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยและแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation) องค์การบริหารส่วนตำบลนาพละ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 65-L1496 -05-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพรวิไล ชูจินดา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด