กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการหนูมะพร้าววัยใส ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายเอกวิทย์ สาโส๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการหนูมะพร้าววัยใส ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5313-02-002 เลขที่ข้อตกลง 002/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูมะพร้าววัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูมะพร้าววัยใส ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูมะพร้าววัยใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5313-02-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยได้รับผลกระทบจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคมตลอดจนการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนา ซึ่งทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของเราเปลี่ยนไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สมดุล เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทั้งทางด้านอากาศ น้ำ อาหาร ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่แออัด และมีพฤติกรรมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ประกอบกับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) กระจายไปทั่วโลก จากการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะสุขภาพของเด็กและเยาวชน เช่น การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ขาดความเอาใจใส่ในเรื่องสุขบัญญัติ และสุขภาพองค์รวม (Holistic Health System) หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การที่จะมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืนและสุขภาพดีถ้วนหน้านั้น ต้องนำเอาหลักการสุขภาพองค์รวมมาแก้ปัญหา โดยมองว่าสุขภาพมิใช่ เป็นเพียงการตั้งรับเพื่อซ่อมสุขภาพเท่านั้น แต่ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยให้ประชาชนสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคนเริ่มตั้งแต่เกิดจนถึงตาย การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพและคุณภาพงานเต็มที่ และการมีสุขภาพดีเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย เด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญอย่างยิ่งของการพัฒนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในปีเด็กสากล พุทธศักราช 2522 พระราชดํารัสว่า “เด็กเป็นผู้ที่รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างจากผู้ใหญ่ รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธํารงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก” จากพระราช  ดำรัชมองเห็นได้ว่า เด็กและเยาวชนเป็นบุคคลสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อจากผู้ใหญ่ ในฐานะครู ผู้ปกครองเด็ก เป็นบุคคลที่มีความสำคัญ ในการปลูกฝัง โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าวได้เห็นความสำคัญที่ต้องส่งเสริมพัฒนาการกระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียนเด็กวัยเรียนและเยวชนซึ่งมีสถานศึกษาชุมชน และครู บุคลากรผู้ปกครองเป็นบทบาทสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพอันจะส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรมที่ดีเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ในปีการศึกษา 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564นักเรียนระดับปฐมวัย ทั้งหมดจำนวน 35 คน มีปัญหา ภาวะโภชนาการ มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 0.7 มีน้ำหนักเกินมาตรฐานจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.4มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.05 ทางโรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าวจึงเล็งเห็นความสำคัญจึงได้ดำเนินโครงการน้องมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงูเพื่อดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างเสริมโภชนาการ
  2. ฟันแข็งแรงสร้างยิ้มสวย
  3. สื่อมหัศจรรย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
  4. กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มเด็กปฐมวัย
  5. รายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9
ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย 35

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
2เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง 3มีการเฝ้าระวังและการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของนักเรียนระดับปฐมวัย
4นักเรียนพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยในระดับปฐมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างเสริมโภชนาการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สร้างเสริมโภชนาการ กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนด้านโภชนาการในวัยเด็ก -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน คนละ  35 บาท  จำนวน 2 มื้อ =2800  บาท -ค่าอาหารเที่ยง  จำนวน 40  คน  คนละ  80  บาท  จำนวน 1 มื้อ  = 3200 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน คนละ  2  ชม. ชม.ละ 600 บาท =2400  บาท -ค่าวัสดุสำหรับสาธิตการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ  =4000 บาท -ค่าเอกสารให้ความรู้ผู้ปกครอง จำนวน  40 ชุด  ชุดละ  30 บาท=1200 บาท ค่าป้านประชาสัมพันธ์ ป้ายขนาด  1.50 x2.40 ตร.ม. จำนวน 1 ป้าย -เครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล = 1500 บาท -ที่วัดส่วนสูง  =1700 บาท

รวมเงิน  17340 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการสมส่วน

 

0 0

2. สื่อมหัศจรรย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สื่อมหัศจรรย์พัฒนาเด็กก่อนวยเรียน -ค่าอาหารเที่ยง จำนวน 40 คน คนละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ =3200 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 40 คน คนละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ =2800 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน 2 คน คนละ 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท= 2400บาท -ค่าวัสดุ  อุปกรณ์สำหรับการสาธิตและการจัดทำสื่อ =7000 บาท -ค่าเอกสารให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เข้าร่วม ค่าเอกสาร  40 ชุด ชุดละ 30 บาท =1200บาท -ค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ป้ายขนาด 1.50x2.40 ตร.ม. จำนวน 1 ป้าย = 540 บาท รวมเป็นเงิน  17140  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองร้อยละ 70 มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน

 

0 0

3. ฟันแข็งแรงสร้างยิ้มสวย

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมฟันแข็งแรงสร้างยิ้มสวย
ให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนด้านการดูแลสุขภาพปากและฟันสำหรับเด็กปฐมวัย -ค่าอาหารเที่ยง  จำนวน 40 คน  คนละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ =3200 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 40 คน คนละ 35 บาทจำนวน 2 มื้อ =2800 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน 1 คน 4 ชม.ชั่วโมงละ 600 บาท = 2400 บาท -ป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรม  ป้ายขนาด 1.50x2.40 ตร.ม. จำนวน 1 ป้าย  =540 บาท ค่าโมเดลฟัน ชุดละ 1500 บาท  จำนวน  2 ชุด  =3000 บาท -ค่าเอกสารให้ความรู้ผู้ปกครอง จำนวน 35 ชุด  ชุดละ 20 บาท = 700  บาท -อุปกรณ์ในการแปรงฟันและสาธิตการแปรงฟัน (แปรงฟัน ยาสีฟัน แก้วน้ำ)  ชุดละ 35 บาท  =2100  บาท รวมเป็นเงิน  14740 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนปฐมวัย ร้อยละ 90 มีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง

 

0 0

4. รายงานผลโครงการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานผลโครงการ -ค่ากระดาษ A4 จำนวน 2 รีม ราคารีมละ 130 บาท=260 บาท -ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการ จำนวน 2 เล่ม เล่มละ 100 บาท=200 บาท รวมเป็นเงิน  460 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามผล

 

0 0

5. กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มเด็กปฐมวัย

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในกลุ่มเด็กปฐมวัย 4.1อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและนักเรียน -ค่าอาหารเที่ยง  จำนวน 40 คน คนละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ = 3200 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน คนละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ =2800 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับนักเรียน จำนวน 35 คน คนละ 35 บาท จำนวน 1 มื้อ =1225 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร ให้ความรู้ผู้ปกครอง จำนวน 1 คน จำนวน 4 ชม. ชม.ละ  600 บาท =2400 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร ให้ความรู้นักเรียน จำนวน 1 คน จำนวน 2 ชม. ชม.ละ  600 บาท =1200บาท -ค่าชุดตรวจ ATK ชุดละ 85 บาท จำนวน 35 ชุด ราคา = 2975 บาท -ค่าเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ขนาด 1000 ml จำนวน 3 ขวด ขวดละ 500 บาท =1500 บาท -ค่าเครื่องจ่ายแอลกอฮอล์ พร้อมวัดไข้อินฟราเรด  =3000 บาท -ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.50 x2.40 ตร.ม. จำนวน  1 ป้าย = 540  บาท รวมเป็นเงิน  18840  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนร้อยละ 60 ได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 129
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9
ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย 35

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างเสริมโภชนาการ (2) ฟันแข็งแรงสร้างยิ้มสวย (3) สื่อมหัศจรรย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน (4) กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มเด็กปฐมวัย (5) รายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูมะพร้าววัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5313-02-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอกวิทย์ สาโส๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด