กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน ตำบลพนมวังก์
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมออกกำลังกายตำบลพนมวังก์
วันที่อนุมัติ 12 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,305.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

ผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป1009 คน
มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ 600 คน

59.46
2 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

พื้นที่สาธารณะในชุมชน .18 แห่ง
การใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน.11 แห่ง..

61.11
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
65.29
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

ประชากร 5 ปีขึ้นไป 4264 คน
ประชากร 5 ปีขึ้นไปที่ออกกำลังกาย 1250 คน

29.32

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณะสุขที่สำคัญของตำบลพนมวังก์พบว่าโรคเป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือดผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ โรคดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคและออกกำลังกาย และมีอารมณ์ (3อ.) ที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการดูแลสุขภาพให้มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ต้องประกอบไปด้วย การรับประทานอาหารที่ครบถ้วนตามหลักโภชนาการการมีสุขภาพจิตที่ดี และการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัยสามารถส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงพึงปรารถนา ชมรมแอโรบิกตำบลพนมวังก์ จึงสนับสนุนให้สามชิกในชมรมมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และเป็นต้นแบบ แป็นผู้นำการออกกำลังกายให้คนในชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

59.46 65.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

65.29 70.00
3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

61.11 66.66
4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

29.32 35.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,305.00 0 0.00
??/??/???? ประชุมสรุปผลโครงการ 0 375.00 -
1 ส.ค. 65 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 0 1,550.00 -
1 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 ส่งเสริมการออกกำลังกาย 0 1,480.00 -
1 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 การร่วมกิจกรรมกับชุมชน 0 2,700.00 -
30 ส.ค. 65 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 0 7,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย มีสุขภาพดีขึ้น
  2. เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ธ.ค. 2564 00:00 น.