กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน ตำบลพนมวังก์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

ชมรมออกกำลังกายตำบลพนมวังก์

1. นางศรุติ หาญณรงค์
2. นางมยุรี อิสโม
3. นางนิสา หนูเกื้อ
4. นางสมพร แซ่ม้า
5. นางหนูเอื้อน ย่องเส้ง

ตำบลพนมวังก์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

ผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป1009 คน
มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ 600 คน

59.46
2 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

พื้นที่สาธารณะในชุมชน .18 แห่ง
การใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน.11 แห่ง..

61.11
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

65.29
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

ประชากร 5 ปีขึ้นไป 4264 คน
ประชากร 5 ปีขึ้นไปที่ออกกำลังกาย 1250 คน

29.32

ปัจจุบันปัญหาโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณะสุขที่สำคัญของตำบลพนมวังก์พบว่าโรคเป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือดผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ โรคดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคและออกกำลังกาย และมีอารมณ์ (3อ.) ที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการดูแลสุขภาพให้มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ต้องประกอบไปด้วย การรับประทานอาหารที่ครบถ้วนตามหลักโภชนาการการมีสุขภาพจิตที่ดี และการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัยสามารถส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงพึงปรารถนา ชมรมแอโรบิกตำบลพนมวังก์ จึงสนับสนุนให้สามชิกในชมรมมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และเป็นต้นแบบ แป็นผู้นำการออกกำลังกายให้คนในชุมชนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

59.46 65.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

65.29 70.00
3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

61.11 66.66
4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

29.32 35.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 25/07/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมกลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และสร้างความร่วมมือการขับเคลื่อนกิจกรรมสู่ผลลัพธ์โดยมีกิจกรรมสำคัญคือ การแบ่งกลุ่มเพื่อติดตามประเมินการกำหนดกติกา การกำหนดช่องทางการติดตาม การเก็บข้อมูลกิจกรรมทางกายและข้อมูลสุขภาพเบื้องต้น กำหนดแนวทางการจูงใจคนในชุมชนให้มีกิจกรรมทางกายที่บ้าน มีค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ป้ายโครงการ 500 บาท
2. อาหารว่าง กลุ่มเป้าหมายและคณะทำงาน 30 ชุดๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
3. ค่าแบบบันทึกรายบุคคล 30 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 1 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้แกนนำกลุ่ม 10 คน
  2. ได้การกำหนดกติกา
  3. เกิดกลุ่มไลน์โครงการ
  4. ได้ข้อมูลกิจกรรมทางกาย (วิถีชีวิต/การทำงาน/นันทนาการ)
  5. ข้อมูลสุขภาพเบื้องต้น (น้ำหนัก สวนสูง รอบพุง ความดันโลหิต ชีพจร การกิน การนอนหลับ)
  6. รุปแบบรายงานการจูงใจคนในชุมชนให้มีกิจกรรมทางกายที่บ้าน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1550.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมายร่วมกันออกกำลังกายด้วยแอโรบิก/บาสโลบ ทุกวันๆละ 1 ชั่วโมงอย่างต่อเนื่อง ณ ลานกีฬาชุมชนบ้านตำบลพนมวังก์
มีค่าใช้จ่ายดังนี้
1. น้ำดื่นและน้ำแข็ง40 วันๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 800 บาท 2. ผ้าซับเหงื่อ(ขนหนูขนาดเล็ก)30 ผืนๆละ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท 3. สมุดลงทะเบียน 1 เล่มๆ ละ80 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
  2. มีการลงทะเบียนทุกวัน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1480.00

กิจกรรมที่ 3 การร่วมกิจกรรมกับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การร่วมกิจกรรมกับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชมรมแอโรบิกตำบลพนมวังก์ จะต้องออกร่วมทำกิจกรรม(โชว์การออกกำลังกาย) กับชุมชนในโอกาสที่ชุมชน ท้องถิ่นหรือหน่วยงานมีกิจกรรม เช่นงานบุญ งานประเพณีอย่างน้อย 3 ครั้ง
ค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าน้ำดื่ม 30 ขวด ๆละ 10 บาท = 300 บาทจำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 900 บาท
2. ผ้าซับเหงื่อ(ขนหนูขนาดเล็ก) 30 ผืนๆละ 20 บาท = 600 บาท จำนวน 3 ครั้งเป็นเงิน 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้เผยแพร่/ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน
  2. สร้างความร่วมมือกับชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2700.00

กิจกรรมที่ 4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายร่วมประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเองผ่านกระบวนการสร้างการเรียนรู้โดยวิทยากรกระบวนการ เพื่อให้ได้ จำนวนคนที่มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นจำนวนคนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอจำนวนคนที่ได้รับการจูงใจให่้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น จากสมาชิกชมรมคนต้นแบบการออกกำลังกายปัจจัยเอื้อ และอุปสรรคต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน 30 คนๆละ 130 บาท เป้นเงิน 3,900 บาท
2. ค่าวิทยากรกระบวนการ 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าบันทึกข้อมูลกิจกรรมทางกาย/ข้อมูลสุขภาพ (จากสมุดบันทึกส่วนบุคคล) จำนวน 30 ชุด ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 สิงหาคม 2565 ถึง 30 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. จำนวนคนที่มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
  2. จำนวนคนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  3. จำนวนคนที่ได้รับการจูงใจให่้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น จากสมาชิกชมรม
  4. คนต้นแบบการออกกำลังกาย
  5. จำนวนคนที่ถูกจูงใจคนให้มีกิจกรรมทางกายที่บ้าน
  6. ปัจจัยเอื้อ และอุปสรรคต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมสรุปผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะทำงาน และแกนนำกลุ่ม รวม 15 คน ร่วมประชุมสรุปผลโครงการ จัดทำรายงานสรุปผลส่งกองทุนฯ
ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่าง 15 ชุดๆละ 25 บาท เป็นเงิน 375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง 26 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ร้อยละของคนทำงานที่มีกิจกรรมทางการเพียงพอ
  2. ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางการเพียงพอ
  3. ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,305.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย มีสุขภาพดีขึ้น
2. เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพชุมชน


>