กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการขยับกาย สบายชีวี สร้างสุขภาพดีด้วยการแบ่งปันอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนประจำปี 2565 ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางภารดี เหลือเทพ

ชื่อโครงการ โครงการขยับกาย สบายชีวี สร้างสุขภาพดีด้วยการแบ่งปันอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนประจำปี 2565

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3325-3-4 เลขที่ข้อตกลง 9/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยับกาย สบายชีวี สร้างสุขภาพดีด้วยการแบ่งปันอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนประจำปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกาย สบายชีวี สร้างสุขภาพดีด้วยการแบ่งปันอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อลด เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม (3) เพื่อลดเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย (4) เพื่อลดเด็กอายุ0-5ที่มีภาวะอ้วน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกาย การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย (3) การละเล่นพื้นบ้าน การปลูกผัก การให้อาหารปลา (4) ให้ความรู้แก่เด็กถึงโทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (5) กิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษ และปลาในศพด.และขยายผลการบริโภคผักปลอดสารพิษและปลาในครัวเรือน (6) ประชุมคณะทำงานและผู้ปกครอง ถอดบทเรียน สรุปโครงการและคืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายบ่อยๆ และมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการกินอาหารที่ถูกหลักโภชการอย่างสม่ำเสมอ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอมีความสำคัญอย่างยิ่งทั้งในมิติของการป้องกันโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ การมีพัฒนาการที่ดี ที่เพียงพอและเหมาะสมกับวัย จะสร้างความเเข็งเเรงของหัวใจ กล้ามเนื้อและกระดูก พัฒนาการเคลื่อนไหว สร้างความเชื่อมั่นในตัวเอง เสริมทักษะการเข้าสังคม พัฒนาสมอง พัฒนาภาวะทางอารมณ์ โดยในวัยเด็กควรมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน ปัจจุบันกลุ่มเด้กมีอัตรากิจกรรมทางกายลดลง สาเหตุสำคัญเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งที่เพิ่มขึ้น โดยพฤติกรรมเนือยนิ่ง 4 อันดับแรกของคนไทยที่ทำติดต่อกันนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อครั้ง คือ นั่ง/นอนดูโทรทัศน์ ร้อยละ 50.0 นั่งคุย/นั่งประชุม ร้อยละ 28.4นั่งทำงาน/นั่งเรียน ร้อยละ 27 และนั่งเล่นเกมโทรศัพท์มือถือ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 20.1 ซึ่งพบว่ากลุ่มเด็กและวัยรุ่น มีพฤติกรรมอยู่หน้าจอ ได้แก่ การนั่งดูโทรทัศน์ ใช้คอมพิวเตอร์ เข้าร้านเกม มากกว่ากลุ่มอื่นๆ โดยเฉลี่ยแล้วใช้เวลาอยู่หน้าจอนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันแล้ว ยังจะต้องดำเนินการควบคู่กับอาหารและโภชนาการที่ดีเพื่อพัฒนาการของเด็กที่สมวัย โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน เช่น การชักเย่อ ม้าก้านกล้วย และมอญซ่อนผ้า รวมถึง การส่งเสริมโภชนาการของเด็กโดยการเพิ่มการกินผักและผลไม้โดยมีกิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว เพิ่มโปรตีนจากปลา โดยส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเลี้ยงปลา เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในการปรุงอาหารกลางวันให้แก่เด็ก รวมถึงกิจกรรมส่งเสริมการลดพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัดในกลุ่มเด็ก เพื่อลดภาวะเสี่ยงเด็กอ้วน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพื่อลด เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม
  3. เพื่อลดเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย
  4. เพื่อลดเด็กอายุ0-5ที่มีภาวะอ้วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน
  2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกาย การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
  3. การละเล่นพื้นบ้าน การปลูกผัก การให้อาหารปลา
  4. ให้ความรู้แก่เด็กถึงโทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  5. กิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษ และปลาในศพด.และขยายผลการบริโภคผักปลอดสารพิษและปลาในครัวเรือน
  6. ประชุมคณะทำงานและผู้ปกครอง ถอดบทเรียน สรุปโครงการและคืนข้อมูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 81
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูและเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวน 11
ผู้ปกครองเด็ก 81

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลาง - มาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) มีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 90
2.เด็กผอมลดลง ร้อยละ 6 3.เด็กมีภาวะเตี้ยลดลง ร้อยละ 10 4.เด็กบริโภคผักเพิ่มขึ้น 5.เด็กดื่มน้ำอัดลม และเครื่องดื่มรสหวานจัดลดลง 6.เด็กอ้วนลดลง ร้อยละ 10


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมชี้แจงคณะทำงาน จำนวน 11 คน ประกอบด้วยครู ผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่กองการศึกษา - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 11 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาทเป็นเงิน 275 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ -มีการประชุมร่วมกัน 1 ครั้ง จำนวน 11 คน

 

0 0

2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกาย การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์โครงการผู้ปกครองเด็ก และครู เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและ การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย 1.ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800บาท 4.ค่าป้ายโครงการ1.8 x 2.4เป็นเงิน 500 บาท 5.ค่าเอกสารในการอบรม เป็นเงิน 2,760 บาท 6.ค่าแฟ้มเอกสาร เป็นเงิน2,300บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก ผู้ปกครองเด็ก และครู เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ฯ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญ ของการมีกิจกรรมทางกายและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

 

0 0

3. การละเล่นพื้นบ้าน การปลูกผัก การให้อาหารปลา

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดกิจกรรมกีฬาพื้นบ้านในช่วงเวลา 8.00 - 8.30 น. โดยให้เด็กๆ เล่นชักเย่อ ม้าก้านกล้วย มอญซ่อนผ้า ในวันจันทร์ - วันศุกร์ 2.จัดกิจกรรมปลูกผักสวนครัว ฯลฯ โดยจัดให้เด็กๆช่วยกันปลูก รดน้ำและพรวนดิน ในวันจันทร์ - วันศุกร์ช่วงเวลา 10.00 - 10.30 น. ค่าใช้จ่าย - ค่าเมล็ดพันธ์ุผัก 15 ซองๆละ 25 บาท เป็นเงิน 375 บาท - ค่าอุปกรณ์การเกษตร เป็นเงิน 2000 บาท 3.จัดกิจกรรมเลี้ยงปลาในบ่อปลา (หลังศูนย์บรรเทาสาธารณะภัยเทศบาลตำบลบ้านสวน )ได้รับการสนับสนุนพันธ์ปลาดุก ปลาตะเพียน จากเทศบาล โดยจัดให้เด็กๆช่วยกันเลี้ยง โดยการให้อาหาร ในวันจันทร์ - วันศุกร์ ช่วงเวลา 10.00 - 10.30 น. ค่าใช้จ่าย - ค่าอาหารปลา จำนวน 10 กระสอบๆละ 20 ก.ก ราคากระสอบละ400 บาท เป็นเงิน 4000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง - มาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) มีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ90

 

0 0

4. ให้ความรู้แก่เด็กถึงโทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

วันที่ 4 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ครูนำผัก และปลาที่ได้จากโครงการปรุงอาหารให้เด็กใน ศพด. กิน -เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมนำผักและปลา ในโครงการ นำไปให้ครอบครัวประกอบอาหารรับประทานที่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กมีการบริโภคผักเพิ่มขึ้น

 

0 0

5. กิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษ และปลาในศพด.และขยายผลการบริโภคผักปลอดสารพิษและปลาในครัวเรือน

วันที่ 18 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ให้ครูประจำชั้นจัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรก โทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด ในช่วงเวลา 14.00 - 14.30 น. ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ -ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือ งด ขาย เครื่องดื่มน้ำหวานในบริเวณใกล้ หรือใน ศพด. -จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์แจกแก่ผู้ปกครองให้ทราบถึงโทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด จำนวน 92 แผ่น -ให้เด็กๆเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด ค่าใช้จ่าย -ป้ายประชาสัมพันธ์โทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด ขนาด 50x100 เซนติเมตร จำนวน 5 ป้ายๆละ 300 บาทเป็นเงิน 1500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในกิจกรรม และเด็กๆดื่มน้ำอัดลมลดลง -ไม่มีร้านค้าขายเครื่องดื่มน้ำหวานในบริเวณ ศพด.

 

0 0

6. ประชุมคณะทำงานและผู้ปกครอง ถอดบทเรียน สรุปโครงการและคืนข้อมูล

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม ชี้แจงถอดบทเรียน สรุปโครงการและคืนข้อมูล -ค่าอาหารว่าง ผู้เข้าร่วมประชุม 92 คนๆละ บาทเป็นเงิน 2,300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินโครงการเพื่อรายงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
86.41 90.00 0.00

 

2 เพื่อลด เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม ลดลง
8.00 6.00

 

3 เพื่อลดเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย ลดลง
11.00 10.00

 

4 เพื่อลดเด็กอายุ0-5ที่มีภาวะอ้วน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะอ้วน ลดลง
14.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 173 173
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 81 81
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครูและเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวน 11 11
ผู้ปกครองเด็ก 81 81

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อลด เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม (3) เพื่อลดเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย (4) เพื่อลดเด็กอายุ0-5ที่มีภาวะอ้วน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกาย การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย (3) การละเล่นพื้นบ้าน การปลูกผัก การให้อาหารปลา (4) ให้ความรู้แก่เด็กถึงโทษของการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (5) กิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษ และปลาในศพด.และขยายผลการบริโภคผักปลอดสารพิษและปลาในครัวเรือน (6) ประชุมคณะทำงานและผู้ปกครอง ถอดบทเรียน สรุปโครงการและคืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายบ่อยๆ และมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการกินอาหารที่ถูกหลักโภชการอย่างสม่ำเสมอ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และมีการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และถูกหลักโภชนาการเพิ่มมากขึ้น

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการขยับกาย สบายชีวี สร้างสุขภาพดีด้วยการแบ่งปันอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนประจำปี 2565

รหัสโครงการ 65-L3325-3-4 รหัสสัญญา 9/2565 ระยะเวลาโครงการ 21 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 สิงหาคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การละเล่นแบบไทย

แนะนำผู้ปกครอง

ส่งเสริมเล่นที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

การลากต้อหมาก

ภาพถ่าย

ส้งเสริมการใช้วัสดุธรรมชาติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการขยับกาย สบายชีวี สร้างสุขภาพดีด้วยการแบ่งปันอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนประจำปี 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3325-3-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภารดี เหลือเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด