กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย ประจำปี 2565 ”
ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L-1505-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย ประจำปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L-1505-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 125,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2555 มาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้กําหนดให้สํานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น มีมติเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2559 เห็นชอบให้จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดําเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จําเป็นต่อสุขภาพ และการดํารงชีวิตตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงกลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงโดยการบริการจัดการอย่างมี ส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นเป็นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นโยบาย ดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการกระจายอํานาจบนหลักแนวคิดบทบาทของรัฐบาลซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลทุ่งค่าย ได้จัดโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลทุ่งค่าย ขึ้นเพื่อบริหารจัดการงานกองทุนให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องตลอดจนเกิดประโยชน์สูงสุดแก่การบริหารจัดการกองทุนและอำนวยประโยชน์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกองทุนและให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
  2. เพื่ออนุมัติแผนงาน/โครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่และบุคลากรของกองทุนในการบริการงานให้มีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการ อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี
  2. ประชุมคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง(LTC) อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
  3. จัดซื้อและซ่อมแซมวัสดุ ครุภัณฑ์ หรืออุปกรณ์ต่างๆของกองทุน
  4. ค่าจ้างถ่ายเอกสาร
  5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง
  6. พี่เลี้ยงประจำกองทุน ติดตามกองทุน อย่างน้อย 3 ครั้งต่อปี
  7. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทําบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกําหนด
  3. การปฏิบัติงานของกองทุนมีประสิทธิภาพ
  4. คณะกรรมการกองทุนมีการพัฒนาศักยภาพ ทําให้การบริหารงานกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุวัตถุประสงค์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการ อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าตอบแทนเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารกลางวันพร้อมอาหารว่างและเครื่อมดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการประชุมเพื่อดำเนินการโครงการฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

2. ประชุมคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง(LTC) อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการฯ
  • ค่าอาหารกลางวันพร้อมอาหารว่างและเครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการประชุมคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง(LTC)

 

0 0

3. จัดซื้อและซ่อมแซมวัสดุ ครุภัณฑ์ หรืออุปกรณ์ต่างๆของกองทุน

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-  จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ของใช้ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยให้กับสถานที่ควบคุมศูนย์พักคอยและการแยกกักตัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

4. ค่าจ้างถ่ายเอกสาร

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าจ้างถ่ายเอกสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-  ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ ผู้เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

6. พี่เลี้ยงประจำกองทุน ติดตามกองทุน อย่างน้อย 3 ครั้งต่อปี

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนแทนวิทยากร
  • ค่าพาหนะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ติดตามกองทุรน อย่างน้อย 3 ครั้ง/ปี

 

0 0

7. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 1 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนวิทยากร  3,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันพร้อมอาหาร ว่างและเครื่องดื่ม
  • ค่าวัสดุในการอบรม
  • ค่าป้ายไวนิล
  • ค่าพาหนะเดินทาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จัดอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการการกองทุน/คณะอนุกรรมการเจเาหน้าที่/ ผู้เกี่ยวข้อง จำวน 30ท่าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกองทุนและให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัด : วัสดุ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ต่างๆ ของกองทุนได้มีการจัดซื้อตามแผนที่วางไว้
0.00

 

2 เพื่ออนุมัติแผนงาน/โครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : โครงการ ได้รับการอนุมัติ จนเงินกองทุนเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินทั้งหมด
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่และบุคลากรของกองทุนในการบริการงานให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการบริหารกองทุนมีศักยภาพ เกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนเกิดแผนสุขภาพตำบลที่มีความครอบคลุมด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกองทุนและให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน (2) เพื่ออนุมัติแผนงาน/โครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่และบุคลากรของกองทุนในการบริการงานให้มีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี (2) ประชุมคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง(LTC) อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี (3) จัดซื้อและซ่อมแซมวัสดุ ครุภัณฑ์ หรืออุปกรณ์ต่างๆของกองทุน (4) ค่าจ้างถ่ายเอกสาร (5) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง (6) พี่เลี้ยงประจำกองทุน ติดตามกองทุน อย่างน้อย 3 ครั้งต่อปี (7) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย ประจำปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L-1505-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งค่าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด