กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ


“ โครงการอสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ”

ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพเยาว์ คงเพ็ชร์

ชื่อโครงการ โครงการอสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60 - L8426 - 2 - 07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60 - L8426 - 2 - 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้ป่วยติดบ้าน หมายถึงกลุ่มผู้ป่วยที่พอช่วยเหลือตัวเองได้ สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อาศัยคนดูแลบ้าง แต่ไม่มาก เช่น สามารถเข้าห้องน้ำ ห้องนอนเองได้ อาบน้ำสวมเสื้อผ้า ทานข้าวได้เอง แต่ไม่สามารถออกนอกบ้านได้เนื่องจากยังไม่แข็งแรงพอส่วนผู้ป่วยติดเตียง หมายถึงกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เช่นผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายผู้ป่วยอัมพาตผู้ป่วยทางระบบสมองหรือพูดง่าย ๆคือผู้ป่วยที่ต้องนอนรักษาตัวอยู่บนเตียงตลอดทั้งวัน ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น แผลกดทับ ข้อต่อต่างๆติดแข็ง เป็นต้นผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียงเป็นผู้ป่วยที่ควรได้รับการดูแลเฝ้าระวังเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ภารกิจหลักในการดูแลผู้ป่วยคือญาติผู้ป่วย เนื่องจากอาศัยอยู่บ้านเดียวกันแต่ญาติผู้ป่วยยังต้องประกอบอาชีพเพื่อหารายได้เลี้ยงครอบครัวและผู้ป่วย ทำให้บ่อยครั้งต้องปล่อยให้ผู้ป่วยอยู่บ้านเพียงลำพัง และเกิดปัจจัยเสี่ยง โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผลร้ายแรงต่อผู้ป่วย เช่น แผลกดทับ การติดเชื้อต่าง ๆ ตามมา ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนตัวเองเป็นภาระของครอบครัว เกิดความน้อยใจเหมือนถูกทอดทิ้งและเกิดความเครียด แม้กระทั่งญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเองบ่อยครั้งก็เกิดความรู้สึกเหนื่อยและท้อกับสิ่งที่ต้องเผชิญไม่ต่างจากผู้ป่วยมากนัก การให้สมาชิกในหมู่บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ช่วยลดปัจจัยเสี่ยง และให้กำลังใจญาติผู้ดูแลอาจเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยลดปัญหาต่าง ๆ นั้นได้
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นหนึ่งในสมาชิกของหมู่บ้านบ้านทุ่งเกร็ง เป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดและมีความรู้เบื้องต้นในการดูแล ให้คำแนะนำผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงตามความเหมาะสม จากการอบรมให้ความรู้ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านทุ่งเกร็ง ตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการ อสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงขึ้น โดยมีภารกิจหลักคือการประชุมกลุ่มเพื่อวางแผน การดูแล ให้กำลังใจ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและการติดตามเยี่ยมบ้านพร้อมให้คำแนะนำผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง และคอยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกรณีที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านไม่สามารถดำเนินการเองได้ เป็นการบรรเทาปัญหาเบื้องต้น ช่วยสร้างขวัญกำลังใจที่ดีให้กับผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและญาติที่ดูแลผู้ป่วย ไม่ให้รู้สึกว่าถูกทอดทิ้งจากสังคมและคนในชุมชน ซึ่งในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็งผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง เป็นผู้สูงอายุ และคนวัยทำงานจำนวนทั้งสิ้น๙คน โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านทุ่งเกร็งจำนวน ๑๒ คนและพร้อมให้การดูแลผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวจำนวน ๑๐ คน ซึ่งโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณสำหรับดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตันหยงลิมอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนและปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 8
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 1
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน๙คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็ง ได้รับการดูแล ให้กำลังใจติดตามเยี่ยมบ้านพร้อมให้คำแนะนำส่งผลให้ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน๙คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง สดชื่นมีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิตมีภาวะแทรกซ้อนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล  ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๙  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็ง ได้รับการดูแล ให้กำลังใจ  ติดตามเยี่ยมบ้าน  พร้อมให้คำแนะนำ

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๙  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง สดชื่น  มีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิต  มีภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

0 10

2. ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

วันที่ 18 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๙  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็ง ได้รับการดูแล ให้กำลังใจ  ติดตามเยี่ยมบ้าน  พร้อมให้คำแนะนำ

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๙  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง สดชื่น  มีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิต  มีภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

10 10

3. ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

วันที่ 18 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๘  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็ง ได้รับการดูแล ให้กำลังใจ  ติดตามเยี่ยมบ้าน  พร้อมให้คำแนะนำ

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน ๘  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง สดชื่น  มีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิต  มีภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

10 10

4. ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

วันที่ 18 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๗  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็ง ได้รับการดูแล ให้กำลังใจ  ติดตามเยี่ยมบ้าน  พร้อมให้คำแนะนำ

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๗  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง สดชื่น  มีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิต  มีภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

10 10

5. ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๗  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ในพื้นที่หมู่ ๔ บ้านทุ่งเกร็ง ได้รับการดูแล ให้กำลังใจ  ติดตามเยี่ยมบ้าน  พร้อมให้คำแนะนำ

ผู้ป่วยติดบ้านหรือติดเตียง จำนวน  ๗  คนและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง สดชื่น  มีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิต  มีภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

10 10

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนและปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ ๑๐๐

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : อสม.บ้านทุ่งเกร็งเข้าร่วมโครงการเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ร้อยละ ๑๐๐

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์ร้อยละ ๓๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 9
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 8
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 1
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนและปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง (2) เพื่อส่งเสริมให้ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และญาติผู้ดูแล  ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน วางแผนแนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอสม.บ้านทุ่งเกร็งเฝ้าระวัง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60 - L8426 - 2 - 07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพเยาว์ คงเพ็ชร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด