กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ผักงาม สวนสวย สุขภาพดี ชีวีสดใส
รหัสโครงการ 65-L3367-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
วันที่อนุมัติ 24 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 มกราคม 2565 - 4 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 3 กันยายน 2565
งบประมาณ 33,225.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกัลยา อินปาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 118 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน(อายุ ๕-๖ ปี) มีภาวะทุพโภชนาการ (คน)
11.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
67.57
3 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
52.25
4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม
12.15
5 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน
11.20
6 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน
55.45

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด มีนักเรียน จำนวน 148 คน จากการสำรวจยังพบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ และโภชนาการเกิน อยู่บางส่วนดังรายละเอียดสถานการณ์ข้างต้น ทั้งยังมีกิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหว การออกกำลังกายไม่เพียงพอ อันเนื่องมาจากสถานการณ์แพร่เชื่อของโรคโควิด-19 โรงเรียนเห็นว่าควรมีกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพนักเรียนทั้งด้านร่างกายและโภชนาการ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

67.57 80.00
2 เพื่อให้เด็กมีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น

ร้อยละ ของเด็กอายุ 5-17 ปี มีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น

30.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 33,225.00 5 33,225.00
1 พ.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 กิจกรรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อป้องกันภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน 0 10,450.00 27,800.00
3 มิ.ย. 65 กิจกรรมประชุมคณะกรรมการการขับเคลื่อนโครงการ 0 375.00 375.00
24 มิ.ย. 65 กิจกรรมสร้างความเข้าใจกับแกนนำกลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ และการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0 5,375.00 3,675.00
1 ก.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 กิจกรรมขยับกาย สบายชีวา 0 15,650.00 -
20 ก.ค. 65 กิจกรรมติดตามการดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายต่างๆ 0 500.00 500.00
15 ก.ย. 65 สรุปผลการดำเนินโครงการ และคืนข้อมูล 0 875.00 875.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ ร้อยละ 80 2.เด็กอายุ 5-17 ปี มีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 2564 19:35 น.