กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ผักงาม สวนสวย สุขภาพดี ชีวีสดใส

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า

โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด

โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน(อายุ ๕-๖ ปี) มีภาวะทุพโภชนาการ (คน)

 

11.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

67.57
3 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

52.25
4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม

 

12.15
5 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน

 

11.20
6 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

 

55.45

ด้วยโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด มีนักเรียน จำนวน 148 คน จากการสำรวจยังพบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ และโภชนาการเกิน อยู่บางส่วนดังรายละเอียดสถานการณ์ข้างต้น ทั้งยังมีกิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหว การออกกำลังกายไม่เพียงพอ อันเนื่องมาจากสถานการณ์แพร่เชื่อของโรคโควิด-19 โรงเรียนเห็นว่าควรมีกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพนักเรียนทั้งด้านร่างกายและโภชนาการ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

67.57 80.00
2 เพื่อให้เด็กมีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น

ร้อยละ ของเด็กอายุ 5-17 ปี มีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น

30.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 118
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/01/2022

กำหนดเสร็จ 04/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมคณะกรรมการการขับเคลื่อนโครงการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมคณะกรรมการการขับเคลื่อนโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมประชุมคระกรรมการขับเคลื่อนโครงการประกอบด้วยครู จำนวนคณะกรรมการสถานศึกษาจำนวน คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน15คนๆละ1มื้อจำนวน375บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2565 ถึง 3 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีคณะกรรมการเกิดขึ้น จำนวน คน 2.มีคณะกรรมขับเคลื่อนโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสร้างความเข้าใจกับแกนนำกลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ และการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสร้างความเข้าใจกับแกนนำกลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ และการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสร้างความเข้าใจกับแกนนำกลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ และการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กและสรรหาแกนนำในการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยสำรวจความต้องการทำกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ มีการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงก่อนการดำเนินโครงการเพื่อประเมินภาวะโภชนาการเด็ก -ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักเด็กแบบดิจิตอล จำนวน2เครื่องจำนวน4000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน35คนจำนวน 1มื้อ จำนวน875บาท -ค่าป้ายโครงการ1 ป้าย จำนวน 500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 มิถุนายน 2565 ถึง 24 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.แกนนำขับเคลื่อนการทำกิจกรรมจำนวน 20 คน 2.มีกฎกติการ่วมกันในการขับเคลื่อน 3.แกนนำขับเคลื่อนโครงการและแกนนำการส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีความรู้ความเข้าใจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5375.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมขยับกาย สบายชีวา

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมขยับกาย สบายชีวา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมขยับกายสบายชีวาเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอตามความถนัดเช่นการเล่นแชร์บอล การเล่นเปตองวอลเล่ย์บอล ปิงปองและแบดมินตันส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ วันละ1 ชั่วโมงเพื่อให้นักเรียนได้ร่วมทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอนอกเหนือจากการบูรณาการการเรียนการสอนในแต่ละวิชาการเพิ่ม (Active learning active play)
-โต๊ะปิงปองจำนวน1ชุดจำนวนุ6850บาท -ลูกเปตอง จำนวน 4 ชุด ๆละ 2200 บาท เป็นเงิน8800 บาท

-ลูกเปตอง จำนวน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดกลุ่มการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียง  จำนวน  5  กลุ่ม 2.มีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ  วันละ  1 ชั่วโมง 3.มีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างสม่ำเสมอ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15650.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมติดตามการดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายต่างๆ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามการดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายต่างๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมติดตามการดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายต่างๆ  โดยการประชุมคณะกรรมการแกนนำกลุ่มการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ  จำนวน  20  คน เพื่อติดตามการส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ  และติดตามประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มเป้าหมาย -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 1  มื้อๆละ 25  บาท  จำนวน  500  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กรกฎาคม 2565 ถึง 20 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.แกนนำการส่งเสริมกิจกรรมทางกายจำนวน20คน เข้าร่วมประชุม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อป้องกันภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อป้องกันภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อป้องกันภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน  และส่งเสริมในเรื่อง (Active learning active play) เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนให้เด็กได้มีกิจกรรมทางเพิ่มมากขึ้นในระหว่างการเรียนรู้  และเพื่อส่งเสริมให้เด็กได้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหา เช่น เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์   หรือเด็กอ้วน   และ การส่งเสริมการบริโภค ผัก ผลไม้ เพื่อให้มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน  และนำผักที่ได้มาประกอบอาหารให้เด็กรับประทาน   ด้านอาหารในโรงเรียน เช่น การนำโปรแกรม Menu Thai School Lunch 1. เมล็ดพันธ์ผัก จำนวน 50 ซองๆละ 30 บาท เป็นเงิน1500 บาท 2. จอบชุดดิน จำนวน 10 อัน ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 2500 บาท 3. เสียมขุดดิน จำนวน 10 อัน ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1000 บาท 4. ช้อนปลูก จำนวน 15 อัน ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 1200 บาท 5. ส้อมพรวนดิน จำนวน 15 อัน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท 6. บัวรดน้ำ จำนวน 15อัน ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1800 บาท 7. สายยาง ขนาด 6 หุน ยาง 30 เมตร จำนวน 1 เส้นๆ ละ 700 บาท เป็นเงิน 700 บาท 8. ดินปลูก จำนวน 1 รถหกล้อ ๆละ 1000 บาท เป็นเงิน 1000 บาท 9. อาหารว่างเเละเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 2800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.โรงเรียนมีการส่งเสริมกิจกรรม(Active learning active play) 2.เกิดแผนการเรียนรู้บูรณาการการเรียนการสอน 3.เกิดนวตกรรมเกี่ยวกับเมนูอาหารเพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10450.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินโครงการ และคืนข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินโครงการ และคืนข้อมูล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปผลการดำเนินโครงการและคืนข้อมูล โดยคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ จำนวน15คน และแกนนำส่งเสริมกิจกรรมทางกายจำนวน20คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน1 มื้อๆละ 25บาท จำนวน35คนจำำนวน875บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กันยายน 2565 ถึง 15 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอร้อยละ 80 2.ร้อยละ ของเด็กอายุ 5-17 ปี มีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
875.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,225.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณถัวเฉลี่ยได้ทั้งโครงการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ ร้อยละ 80
2.เด็กอายุ 5-17 ปี มีภาวะสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50


>