โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
กรกฎาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3351-02-12 เลขที่ข้อตกลง 21/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มกราคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3351-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มกราคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในรอบหลายปีที่ผ่านมาขยะมีเพิ่มมากขึ้นและเป็นปัญหาสำหรับชุมชน หากขยะในครัวเรือนไม่ได้มีการจัดการที่ถูกต้อง จะเป็นปัจจัยเสี่ยงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค คือ หนู แมลงสาป แมลงวัน ยุงลาย เป็นต้น ซึ่งสัตว์เหล่านี้เป็นสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา โรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู เป็นต้น จากการลงพื้นที่ในชุมชนกรณีที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในตำบลโคกชะงาย พบว่า ครัวเรือนมีปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมภายนอกบ้าน โดยเฉพาะขยะ และภาชนะเหลือใช้ เช่น ขวดน้ำ แก้วน้ำพลาสติก ยางรถยนต์ กระถาง กะละมัง เป็นต้น ที่ไม่ได้มีการทำลายอีกทั้งประชาชนไม่มีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 จนถึงปัจจุบัน อำเภอเมืองพัทลุง มีนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล (พชต.) ซึ่งเน้นการแก้ปัญหาเรื่องขยะและสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยความมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนงาน ตำบลโคกชะงายรับทราบนโยบายดังกล่าวและพร้อมดำเนินการในพื้นที่ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562- 2563ในปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมาเนื่องจากปัญหาสถานการณ์โรคโควิด-19 ดำเนินการเรื่่องขยะไม่เต็มรูปแบบ อีกทั้งทำให้มีความเสี่ยงการจัดการขยะติดเชื้อในพื้นที่เพิ่่มเติม และจากการลงพื้นที่ทุกหมู่บ้าน เมื่อปีงบประมาณ 2563 ได้ร่วมกันหามาตรการการจัดการขยะกำหนดให้มีมาตรการเริ่มคัดแยกขยะเปียก และขยะแห้ง ที่บ้านก่อนทิ้งออกสู่ชุมชน สำหรับขยะเปียก เศษอาหาร เสนอให้มีการจัดทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้ประโยชน์การปลูกผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน
ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 256 ขึ้น เพื่อต่อเนื่องกับโครงการปี 2562-2563 และต่อยอดจากมาตรการของหมู่บ้านที่ได้มาจากปี 2563 โดยการจัดอบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือน ติดตามและคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อเป็นต้นแบบให้ครัวเรือนอื่นการแก้ไขปัญหาเรื่องขยะและปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งในครัวเรือนและชุมชนให้ประสบความสำเร็จ ช่วยลดปัญหาขยะที่สามารถจัดการได้เองที่บ้านและลดปัญหาเรื่องโรคติดต่อที่มีปัจจัยมาจากขยะอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้กับแกนนำการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์
- เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์
- ปฎิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน
- คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทั่วไปที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
120
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำทุกคนสามารถการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ได้
- ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
- ลดปัญหาขยะและปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคติดต่อที่มีสัตว์เป็นพานะนำโรคในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปฎิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
- ผู้เข้าร่วมโครงนำความรู้จากการอบรมในการปฏิบัติการการจัดการขยะในครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมโครงนำความรู้จากการอบรมในการปฏิบัติการการจัดการขยะในครัวเรือนและทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอาหาร พืช สัตว์ ใช้ในครัวเรือนแทนปุ๋ยเคมี
- ผลการดำเนินงานจากการอบรมครู กการจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 120 คน กลับดำเนินการที่บ้านและจะติดตามเยี่ยม คัดเลือกบ้านต้นแบบ หมู่ละ 5 ครัวเรือน รวมจำนวน 30 ครัวเรือน
0
0
2. อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์
วันที่ 23 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
- อบรมครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 120 คน
- ฝึกปฎิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์ จากเศษอาหาร เศษผัก ขี้ปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบรมครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน รวมจำนวน 120 คน เข้าร่วมการประชุม ทั้งหมดจำนวน 120 คน โดยวิทยากรให้ความรู้การคัดแยกขยะในครัวเรือนและฝึกปฎิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก ทำจากเศษอาหาร เศษผัก ขี้ปลา เพื่อใช้เป็นปุ๋ยการบำรุงพืชผักในครัวเรือนผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนมีความรู้และสามารถทำปุ๋ยอินทรีย์ได้
0
0
3. คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
วันที่ 20 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
- คณะกรรมการลงคัดเลือกบ้านต้นแบบการจัดการขยะ จำนวน 6 หมุ่บ้าน เพื่อให้ทุกหมู่บ้านครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน แต่ละหมู่บ้าน บ้านต้นแบบการจัดการขยะ หมู่ละ 30 ครัวเรือน และคัดเลือกบ้านต้นแบบชนะเลิศ หมู่ละ 1 ครัวเรือน
0
0
4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
วันที่ 15 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- มอบเกียรติบัติและป้าย บ้านต้นแบบการจัดการขยะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนการจัดการขยะในครัวเรือน แลกเปลี่ยนวิธีการคัดแยกขยะในครัวเรือน แลพเปลี่ยนวิธีการคัดแยก รวมทั้งการทำปุ๋ย เป็นการลดขยะในครัวเรือน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชนตำบลโคกชะงาย ปี 2565 กลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนในชุมชน จำนวน 120 คน ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะที่ถูกต้องและการทำปุ๋ยอินทรีย์ใช้ภายในครัวเรือน โครงการดังกล่าวประกอบด้วยน 4 กิจกรรม 1.อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ 2.ปฏิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน 3.คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน 4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
- กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ การคัดแยกขยะ วิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์ และลงเยี่ยมครัวเรือนเพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน รางวัลชนะเลิศ หมู่บ้าน ละ 1 ครัวเรือน จำนวน 6 ครัวเรือน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้กับแกนนำการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์
ตัวชี้วัด : แกนนำทุกคนสามารถการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ได้
11.00
120.00
120.00
2
เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
4.00
6.00
6.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ประชาชนทั่วไปที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
120
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้กับแกนนำการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ (2) เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ (2) ปฎิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน (3) คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3351-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร
กรกฎาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3351-02-12 เลขที่ข้อตกลง 21/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มกราคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3351-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มกราคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในรอบหลายปีที่ผ่านมาขยะมีเพิ่มมากขึ้นและเป็นปัญหาสำหรับชุมชน หากขยะในครัวเรือนไม่ได้มีการจัดการที่ถูกต้อง จะเป็นปัจจัยเสี่ยงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค คือ หนู แมลงสาป แมลงวัน ยุงลาย เป็นต้น ซึ่งสัตว์เหล่านี้เป็นสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา โรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู เป็นต้น จากการลงพื้นที่ในชุมชนกรณีที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในตำบลโคกชะงาย พบว่า ครัวเรือนมีปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมภายนอกบ้าน โดยเฉพาะขยะ และภาชนะเหลือใช้ เช่น ขวดน้ำ แก้วน้ำพลาสติก ยางรถยนต์ กระถาง กะละมัง เป็นต้น ที่ไม่ได้มีการทำลายอีกทั้งประชาชนไม่มีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 จนถึงปัจจุบัน อำเภอเมืองพัทลุง มีนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล (พชต.) ซึ่งเน้นการแก้ปัญหาเรื่องขยะและสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยความมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนงาน ตำบลโคกชะงายรับทราบนโยบายดังกล่าวและพร้อมดำเนินการในพื้นที่ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562- 2563ในปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมาเนื่องจากปัญหาสถานการณ์โรคโควิด-19 ดำเนินการเรื่่องขยะไม่เต็มรูปแบบ อีกทั้งทำให้มีความเสี่ยงการจัดการขยะติดเชื้อในพื้นที่เพิ่่มเติม และจากการลงพื้นที่ทุกหมู่บ้าน เมื่อปีงบประมาณ 2563 ได้ร่วมกันหามาตรการการจัดการขยะกำหนดให้มีมาตรการเริ่มคัดแยกขยะเปียก และขยะแห้ง ที่บ้านก่อนทิ้งออกสู่ชุมชน สำหรับขยะเปียก เศษอาหาร เสนอให้มีการจัดทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้ประโยชน์การปลูกผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 256 ขึ้น เพื่อต่อเนื่องกับโครงการปี 2562-2563 และต่อยอดจากมาตรการของหมู่บ้านที่ได้มาจากปี 2563 โดยการจัดอบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือน ติดตามและคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อเป็นต้นแบบให้ครัวเรือนอื่นการแก้ไขปัญหาเรื่องขยะและปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งในครัวเรือนและชุมชนให้ประสบความสำเร็จ ช่วยลดปัญหาขยะที่สามารถจัดการได้เองที่บ้านและลดปัญหาเรื่องโรคติดต่อที่มีปัจจัยมาจากขยะอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้กับแกนนำการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์
- เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์
- ปฎิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน
- คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ประชาชนทั่วไปที่สมัครเข้าร่วมโครงการ | 120 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำทุกคนสามารถการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ได้
- ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
- ลดปัญหาขยะและปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคติดต่อที่มีสัตว์เป็นพานะนำโรคในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปฎิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ- อบรมครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 120 คน - ฝึกปฎิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์ จากเศษอาหาร เศษผัก ขี้ปลา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชนตำบลโคกชะงาย ปี 2565 กลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนในชุมชน จำนวน 120 คน ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะที่ถูกต้องและการทำปุ๋ยอินทรีย์ใช้ภายในครัวเรือน โครงการดังกล่าวประกอบด้วยน 4 กิจกรรม 1.อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ 2.ปฏิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน 3.คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน 4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
- กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ การคัดแยกขยะ วิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์ และลงเยี่ยมครัวเรือนเพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน รางวัลชนะเลิศ หมู่บ้าน ละ 1 ครัวเรือน จำนวน 6 ครัวเรือน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้กับแกนนำการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ ตัวชี้วัด : แกนนำทุกคนสามารถการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ได้ |
11.00 | 120.00 | 120.00 |
|
2 | เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน ตัวชี้วัด : ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน |
4.00 | 6.00 | 6.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ประชาชนทั่วไปที่สมัครเข้าร่วมโครงการ | 120 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้กับแกนนำการจัดการขยะในครัวเรือนโดยการทำปุ๋ยอินทรีย์ (2) เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม ครู ก การจัดการขยะในครัวเรือนและการทำปุ๋ยอินทรีย์ (2) ปฎิบัติการจัดการขยะในครัวเรือน (3) คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบเกียรติบัตร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมจากครอบครัวสู่ชุมชน ตำบลโคกชะงาย ปี 2565 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3351-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......