กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิรดา ศรีของไทย

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-50110-04-1 เลขที่ข้อตกลง 01/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-50110-04-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ตามมาตรา 18(9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหากำไร ดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กรบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ เกิดขึ้นตามแนวทางการดำเนินงานดังกล่าว โดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ซึ่งในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 โดยแต่ละกองทุนฯนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นระเบียบกองทุนสำหรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนต่อไป ทั้งนี้ นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ปัจจัยในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ยังเกิดขึ้นจากคณะบุคคลอีกหนึ่งคณะตามที่กล่าวข้างต้น นั้นคือ คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะโละกาโปร์ อนุกรรมการฯ กล่าวคือการ การที่คณะกรรมาการบริหารกองทุนมีความรู้มีความสามารถเข้าถึง เข้าใจหลักการบริหารจัดการกองทุน ก็จะทำให้กองทุนแห่งนั้นดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ประกอบกับ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุน ก็ต้องมีเจ้าหน้าทีดำเนินงานกองทุนฯ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่พร้อมในการสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพไปพร้อมกัน ดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะโละกาโปร์ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ได้กำหนดให้มีการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อย่างน้อยปีละสี่ครั้ง โดยได้ให้เบิกเงินค่าเบี้ยประชุมและค่าวัสดุต่างๆจากเงิน 15 % รวมกับ LTC 5% รวมทั้งหมดเป็น 20 % ที่กองทุนได้ตั้งไว้

ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานและการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเกิดประสิทธิผลและเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชุดใหม่ได้เข้าใจกฎ ระเบียบ ของกองทุนมากขึ้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ จึงได้จัดทำโครงการประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ เพื่อดำเนินการประชุมประจำเดือนของทุกเดือนในปีงบประมาณ 2565 นั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารและคณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพได้มีการประชุมประจำเดือนอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุน สามารถติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของกองทุนได้อย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้การทำงานมีสภาพคล่อง ประสบผลสำเร็จ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์พร้อมอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง LTC อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
  3. ค่าเดินทางไปราชการ
  4. การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการทำงานของกองทุน
  5. ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเตอร์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ สามารถที่จะดำเนินการบริหารจัดการกองทุนที่ดี ตลอดจนการพิจารณาโครงการต่างๆได้ตามกำหนดเวลา จนมีผลทำให้เกิดการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. มีการประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้ง เพื่อโครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 80 เปอร์เซ็น 2. มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนร่วมกับทีมพี่เลี้ยง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารและคณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพได้มีการประชุมประจำเดือนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
50.00

 

2 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุน สามารถติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของกองทุนได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
50.00

 

3 เพื่อให้การทำงานมีสภาพคล่อง ประสบผลสำเร็จ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์
ตัวชี้วัด :
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 29
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29 29

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการบริหารและคณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพได้มีการประชุมประจำเดือนอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุน สามารถติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของกองทุนได้อย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้การทำงานมีสภาพคล่อง ประสบผลสำเร็จ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์พร้อมอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2) ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง LTC อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (3) ค่าเดินทางไปราชการ (4) การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการทำงานของกองทุน (5) ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเตอร์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-50110-04-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศิรดา ศรีของไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด