กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า


“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565 ”

ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุพัตรา ชุมแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1473-65-01-001 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1473-65-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยจำนวนมากเนื่องจาก ฝนที่ตกลงทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากร การคมนาคมที่สะดวกทำให้การเดินทางภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยข้อมูลรอบ 5 เดือนแรกของปี 2564 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ 80 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2563 ซึ่งมาจากหลายสาเหตุ เช่น การเพิ่มความตระหนักรู้ของประชาชนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ การล็อกดาวน์ ปิดสถานที่สาธารณะ เช่น โรงเรียน ทำให้แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง ส่งผลให้จำนวนยุงลายลดลงไปด้วย จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 30 ตุลาคม 2564) ประจำปี 2564 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 5,815 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 8.75 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 6 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.10 สำหรับจังหวัดตรัง จำนวนทั้งสิ้น 16 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2.49 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 1 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 6.25 และตำบลโคกสะบ้าไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก ที่อาจมีแนวโน้มการเกิดโรคในทุกๆ ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกสะบ้า จึงได้จัดทำโครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
  2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกสะบ้า
  3. เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯ ที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,428
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลโคกสะบ้า ปลอดภัยจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 2 โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่ตำบลโคกสะบ้า ได้รับการควบคุมโรคทันท่วงที 3 โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ไม่ระบาดในชเขตพื้นที่ตำบลโคกสะบ้า 4 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี ๒๕๖5 ในพื้นที่ตำบลโคกสะบ้าลดลง 5 ประชาชนให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เกิดมาตรการทางชุมชนป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ชุมชนปลอดโรคต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565

วันที่ 5 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำแผนปฏิบัติการรณรงค์ป้องกัน สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์
  • ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน วัด โรงเรียน และสถานที่ราชการ ก่อนการระบาดโดยการสำรวจ โดยการพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
  • ดำเนินการติดป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ และแห่รถประชาสัมพันธ์ในช่วงรณรงค์วันไข้เลือดออกอาเซียน
  • ควบคุมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นสารเคมีด้วยเครื่องพ่นหมอกควัน กรณีเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  • สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค แนวทางพัฒนาเพื่อปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงานปีต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์ โดย 1. ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน วัด โรงเรียน และสถานที่ราชการ ก่อนการระบาดโดยการสำรวจ กำจัดยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปรับปรุงสภาพทางกายภาพ 2. ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์และแห่ประชาสัมพันธ์ในช่วงรณรงค์วันไช้เลือดออกอาเซียน 3. ควบคุมการทำลายยุงโดยการพ่นสารเคมีด้วยเครื่องพ่นหมอกควัน กรณีระบาดของโรคไข้เลือดออก Generation ที่ 2

 

6,428 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.00

 

2 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกสะบ้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.00

 

3 เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯ ที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6428
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,428
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกสะบ้า (3) เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯ ที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1473-65-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุพัตรา ชุมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด