กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง

ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัด และ ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิด ของของเสีย อันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคจากสัตว์แมลง โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศีรษะคลื่นไส้และอาเจียนเกิดจากกลิ่นเน่า โรคมะเร็งเนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างการจากการที่มนุษย์พยายามสร้าง และพัฒนาความเจริญให้สังคมที่ตนเองอาศัยอยู่โดยการนำทรัพยากรที่มีอยู่ตามธรรมชาติมาใช้อย่างไม่ระมัดระวังทำให้ความสมดุลย์ทางธรรมชาติเสียไปดังนั้นจึงส่งผลให้ในปัจจุบันนี้สิ่งแวดล้อมได้เสื่อมโทรมลงไปมากและเกิดปัญหามลพิษของสิ่งแวดล้อมซึ่งกำลังทวีความรุนแรงขึ้นจึงจำเป็นจะต้องมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหามลพิษอย่างเร่งด่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาขยะมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดต่าง ๆ อบต.เองต่างก็ตระหนักดีในปัญหาดังกล่าวนี้ โดยได้มีการกำหนดมาตรการและแผนงานต่าง ๆ มารองรับเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้ แต่ก็ไม่สามารถที่จะแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ได้อย่างเด็ดขาด ยังคงมีปัญหาขยะมูลฝอย ตกค้างอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆนอกจากนี้ปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วก่อให้เกิดปัญหาตามมาอย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยต่อผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงและยังทำลายชั้นบรรยากาศของโลกอีกด้วย นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดมลพิษทำให้เกิดการเน่าเสียค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อมซึ่งอาจก่อให้เกิดแหล่งพาหะนำโรค และส่งกลิ่นเหม็นต่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง
ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง มีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ชุมชน สถานศึกษา อาคารหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเป็นต้น ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง เพื่อรณรงค์/ส่งเสริมให้ประชาชน/เยาวชน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกและจัดการประเภทขยะมูลฝอย (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป) ที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิดภายในชุมชนของตนเอง และสามารถเป็นต้นแบบให้แก่ชุมชนอื่นๆภายในเขตพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.สร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดแก่ประชาชน
  2. 2.สร้างแนวทางการกำจัดขยะอย่างครบวงจร
  3. ๓เพื่อป้องกันโรคของประชาชนจากขยะมูลฝอย
  4. ๔.ลดมลพิษจากขยะที่มีต่อประชาชน
  5. ๕.ลดภาวะโรคติดต่อต่าง ๆ อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชน 1. ประชาชนมีความรู้ และทักษะในการคัดแยกและจัดการขยะแต่ละประเภทได้อย่างเหมาะสม 2. ช่วยลดปัญหาปริมาณขยะ ปัญหาไม่มีที่กำจัดขยะ และปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่สภาพแวดล้อมในชุมชนมีความสะอาดปราศจากขยะมูลฝอย 3. เกิดชุมชนต้นแบบที่สามารถถ่ายทอดความรู้ และทักษะในการคัดแยกประเภทขยะสู่ชุมชนอื่นๆ ผลประโยชน์ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

      1. ประชาชนมีความรู้ และทักษะในการคัดแยกและจัดการขยะแต่ละประเภทได้อย่างเหมาะสม 2. ช่วยลดปัญหาปริมาณขยะ ปัญหาไม่มีที่กำจัดขยะ และปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่สภาพแวดล้อมในชุมชนมีความสะอาดปราศจากขยะมูลฝอย 3. เกิดชุมชนต้นแบบที่สามารถถ่ายทอดความรู้ และทักษะในการคัดแยกประเภทขยะสู่ชุมชนอื่นๆ ผลประโยชน์ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.สร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดแก่ประชาชน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น สังเกตได้จากปริมาณขยะลดน้อยลง

     

    2 2.สร้างแนวทางการกำจัดขยะอย่างครบวงจร
    ตัวชี้วัด : มีถังคัดแยกประเภทของขยะและมีศูนย์รวมรวมขยะ (ธนาคารขยะ)

     

    3 ๓เพื่อป้องกันโรคของประชาชนจากขยะมูลฝอย
    ตัวชี้วัด : ขยะถูกกำจัดอย่างถูกวิธีลดปริมาณผู้ติดเชื้อโรคจากปัญหาขยะ

     

    4 ๔.ลดมลพิษจากขยะที่มีต่อประชาชน
    ตัวชี้วัด : ขยะอันตรายจะถูกส่งไปกำจัดอย่างถูกวิธี ลดมลพิษที่มีต่อประชาชน

     

    5 ๕.ลดภาวะโรคติดต่อต่าง ๆ อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ
    ตัวชี้วัด : ขยะถูกกำจัดอย่างถูกวิธีลดปริมาณปัญหาที่ตามมา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.สร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดแก่ประชาชน (2) 2.สร้างแนวทางการกำจัดขยะอย่างครบวงจร (3) ๓เพื่อป้องกันโรคของประชาชนจากขยะมูลฝอย (4) ๔.ลดมลพิษจากขยะที่มีต่อประชาชน (5) ๕.ลดภาวะโรคติดต่อต่าง ๆ อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด