กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานลดน้ำตาล ลดภาวะแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2565 การแก้ไขปัญหาโรคแทรกซ้อน ที่เกิดจากน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยสูงเกินค่ามาตรฐาน Hba1C มากกว่า 7% จำเป็นต้องได้รับการรักษา ส่งเสริมและฟื้นฟูอย่างถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตา ไต และเท้า ในหมู่ที่ 2 3 4 5 6 8 จำนวน 30 ราย - ผลการดำเนินงานผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 30 ราย ที่เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านโคกชะงาย ได้พิจารณามาจากค่า Hba1C มากกว่า 7ได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยและผู้ดูแล จำนวน 30 คน หลังจากติดตามเจาะเลือดครั้งที่ 2 พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่มี Hba1C ลดลง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.64 มีค่า Hba1C ไม่เปลี่ยนแปลง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และมีค่า Hba1C เพิ่มขึ้น จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ไม่มีผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) ในผู้ป่วยเบาหวาน ให้น้อยกว่า 7
ตัวชี้วัด : เพื่อลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) ในผู้ป่วยเบาหวาน ให้น้อยกว่า 7 ไม่น้อยร้อยละ 10
3.00 10.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) มากกว่า 7 ส่งต่อไปโรงพยาบาลแม่ข่าย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่มีน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) มากกว่า 7 ส่งต่อไปโรงพยาบาลแม่ข่าย ร้อยละ 100
85.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีผลตรวจ HbA1C มากกว่า 7 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) ในผู้ป่วยเบาหวาน ให้น้อยกว่า 7 (2) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) มากกว่า 7 ส่งต่อไปโรงพยาบาลแม่ข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยหรือผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน (HbA1C มากกว่า 7) (2) ประชุมติดตามแลกเปลี่ยนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) ติดตามกลุ่มเป้าหมายตรวจเลือดประเมินน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) และส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh