โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง ”
ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางซาลีนาเจ๊ะแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง
ที่อยู่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พฤติกรรมและวิถีชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาวะของมนุษย์พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ของแต่ละบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยของบุคคลนั้นๆจากสถานการณ์ของคนไทยในปัจจุบันพบว่าโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการตายในลำดับต้นๆจากการเปิดเผยข้อมูลของชมรมโภชนวิทยามหิดลในปี2552 พบว่าสถิติคนไทยตายด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกซินโดรมหรืออ้วนลงพุงได้แก่โรคหัวใจและหลอดเลือดรวมถึงโรคหลอดเลือดสมองและโรคเบาหวานรวมวันละ216คนหรือชั่วโมงละ10คนนั่นคือทุก6นาที ต่อ 1 คน ปัจจุบันคนไทยมีภาวะอ้วนและอ้วนลงพุงมากขึ้นจากพฤติกรรมบริโภคอาหารรสหวานมันเค็มเพิ่มขึ้นรับประทานผักผลไม้น้อยลงและขาดการออกกำลังกาย
จากผลการคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในตำบลลิดลจำนวน 2,048 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน866คนคิดเป็นร้อยละ42.28และจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 คนพบว่า ร้อยละ 89 กินผักผลไม้น้อยกว่าครึ่งกิโลกรัม ร้อยละ 51 ไม่ออกกำลังกายและร้อยละ 48 ชอบกินอาหารรสเค็ม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยง ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ อันจะนำไปสู่ความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรค อีกทั้งยังขาดทักษะที่ถูกต้องในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดลจึงได้ทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิดล อำเภอเมือง จังหวัดยะลาปี 2560
โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลลิดล ทั้งนี้ได้นำแนวคิดพฤติกรรมสุขภาพการเพิ่มพลังอำนาจในตนเองให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถตัดสินใจเลือกวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความมั่นใจในการแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ทำให้เกิดความมั่นใจในการเริ่มต้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสูงขึ้นซึ่งจะส่งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพก่อนที่จะเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและมีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนรวมทั้งมีแนวทางและเกิดทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองซึ่งจะเสริมให้ทรัพยากรบุคลเป็นทุนมนุษย์ที่แข็งแรงของหน่วยงานและสังคมและประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส.
- . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3 อ. 2ส.
- กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย :- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 50 คน
ระยะเวลา :- อบรมเชิงปฏิบัติการรวมทั้งหมด 5 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ วันเดือนปี กิจกรรม เนื้อหา
1 วันที่ 10 เมษายน 2560 1. บรรยาย
2. สาธิต - สถานการณ์และความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- อาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง
- สาธิตโมเดลอาหาร
- หวาน มัน เค็ม
- อาหาร 3 โซนสี
2 4 พฤษภาคม 2560 1. บรรยาย
2. สาธิต
3. ฝึกปฏิบัติ - การค้นหาแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- แนวคิดเรื่องการใช้พลังงานแต่ละวัน
- การออกกำลังกายสำหรับกลุ่มเสี่ยง
- การบริหารร่างกายแบบมณีเวช
3 7 กรกฎาคม 2560 1. สาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
2. ฝึกปฏิบัติ - สาธิต/ฝึกทำสลัดโรล / น้ำสลัดซีฟู๊ด
- สาธิต/ฝึกทำลาบไก่
- สาธิต/ฝึกทำลาบทูน่า
4 10 สิงหาคม 2560 1. บรรยาย
2. สาธิต
3. ฝึกปฏิบัติ - การออกกำลังกายแบบแอโรบิค
- เวทเทรนนิ่ง
- การใช้ยางยืด
5 5 กันยายน 2560 - จัดกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบ - แรงบันดาลใจของบุคคลต้นแบบ
- วิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของคนต้นแบบ
- ร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการ ประเมินพฤติกรรม 3อ. 2ส. พร้อมทั้งประเมินสภาวะสุขภาพก่อนอบรม และหลังอบรม
ประเมินสภาวะสุขภาพ และประเมินพฤติกรรม 3อ. 2ส. ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือน
ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย :- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรวมทั้งสิ้น 50 คน ดังนี้
ประเมินพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้แบบตนเตือนตน ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือน
ประเมินสภาวะสุขภาพ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด และดัชนีมวลกาย ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือน
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการ จัดบอร์ดให้ความรู้เรื่องแนวทางการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นำไปติดตั้งที่มัสยิด และร้านน้ำชา ทั้ง 5 หมู่บ้าน<br />
จัดทำบอร์ดให้ความรู้ โดยอสม.แต่ละหมู่บ้าน ซึ่งทำจากแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดขนาด 1 X 1.5 เมตร เนื้อหาประกอบด้วย การบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูง การหลีกเลี่ยงอาหารน้ำตาลสูง โดยได้นำบอร์ดประชาสัมพันธ์ไปติดตั้งที่มัสยิด และร้านน้ำชา ทั้ง 5 หมู่บ้าน
- กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. ผลลัพธ์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย 50 คน มีผลการประเมินความรู้/ทักษะหลังอบรมดังนี้
ก่อน/หลังอบรม จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้คะแนนความรู้/ทักษะ90 % ขึ้นไป คิดเป็น %
ก่อนอบรม 13 คน 46.00
หลังอบรม 42 คน 84.00
เพิ่มขึ้น 29 คน 58.00
2. กลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 คน ใช้แบบตนเตือนตนในการสำรวจพฤติกรรม
หากปฏิบัติเป็นประจำต่ำกว่า 3 ข้อ ถือว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงต่ำ
ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม หลังเข้าร่วมกิจกรรม
จำนวนผู้มีพฤติกรรม
เสี่ยงต่ำ คิดเป็นร้อยละ จำนวนผู้มีพฤติกรรมต่ำ คิดเป็นร้อยละ เพิ่มขึ้นร้อยละ
3 คน 6.00 34 คน 68.00 62.00
กลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 คน จะได้รับการประเมินสภาวะสุขภาพ ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือนโดยกำหนดเงื่อนไขและเกณฑ์การประเมินดังนี้
เงื่อนไข เกณฑ์การประเมิน
1.น้ำหนักร่างกาย ลดลงทุกเดือน
2.เส้นรอบเอว ลดลงทุกเดือน
3.ระดับความดันโลหิต ครั้งสุดท้ายต้อง
ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
4.ระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งสุดท้ายต้อง
ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
5.ดัชนีมวลกาย ครั้งสุดท้ายต่ำ
กว่าครั้งแรก
วิเคราะห์ผลลัพธ์โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ลดอ้วนลดพุงลดเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดของโครงการ 1 กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส.
ผลลัพธ์ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องร้อยละ84.00
การประเมินโครงการ ผ่านตัวชี้วัดของโครงการ
ตัวชี้วัดของโครงการ 2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 60 มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ร้อยละ 68.00
การประเมินโครงการ ผ่านตัวชี้วัดของโครงการ
ตัวชี้วัดของโครงการ 3 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 50 มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย 50 คน มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น จำนวน 21 คน
คิดเป็น ร้อยละ 42
การประเมินโครงการ ไม่ผ่านตัวชี้วัดของโครงการ
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
ลำดับ ปัญหาอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
1 กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถลดน้ำหนัก/รอบเอว/ระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ 1.1ขาดปัจจัยเอื้อในชุมชน - จัดตั้งกลุ่มออกกำลังกายทุกหมู่บ้าน
- สนับสนุนร้านค้า/ร้านน้ำชาจำหน่ายเมนูเพื่อสุขภาพ ทดแทนของว่างประเภทขนมทอด
1.2ไม่มีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสป.สช.อบต.ลิดล ในปีต่อไป เพื่อจัดประกวดค้นหาบุคคลต้นแบบ
โดยผู้ที่ผ่านเกณฑ์สุขภาพดีจะต้องผ่านเงื่อนไขอย่างน้อย 2 ข้อจึงจะถือว่ามีสุขภาพดีขึ้น
เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมครั้งสุดท้ายพบว่ากลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส.
ตัวชี้วัด :
2
. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. (2) . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางซาลีนาเจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง ”
ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางซาลีนาเจ๊ะแว
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พฤติกรรมและวิถีชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาวะของมนุษย์พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ของแต่ละบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยของบุคคลนั้นๆจากสถานการณ์ของคนไทยในปัจจุบันพบว่าโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการตายในลำดับต้นๆจากการเปิดเผยข้อมูลของชมรมโภชนวิทยามหิดลในปี2552 พบว่าสถิติคนไทยตายด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกซินโดรมหรืออ้วนลงพุงได้แก่โรคหัวใจและหลอดเลือดรวมถึงโรคหลอดเลือดสมองและโรคเบาหวานรวมวันละ216คนหรือชั่วโมงละ10คนนั่นคือทุก6นาที ต่อ 1 คน ปัจจุบันคนไทยมีภาวะอ้วนและอ้วนลงพุงมากขึ้นจากพฤติกรรมบริโภคอาหารรสหวานมันเค็มเพิ่มขึ้นรับประทานผักผลไม้น้อยลงและขาดการออกกำลังกาย จากผลการคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในตำบลลิดลจำนวน 2,048 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน866คนคิดเป็นร้อยละ42.28และจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 คนพบว่า ร้อยละ 89 กินผักผลไม้น้อยกว่าครึ่งกิโลกรัม ร้อยละ 51 ไม่ออกกำลังกายและร้อยละ 48 ชอบกินอาหารรสเค็ม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยง ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ อันจะนำไปสู่ความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรค อีกทั้งยังขาดทักษะที่ถูกต้องในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดลจึงได้ทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิดล อำเภอเมือง จังหวัดยะลาปี 2560 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลลิดล ทั้งนี้ได้นำแนวคิดพฤติกรรมสุขภาพการเพิ่มพลังอำนาจในตนเองให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถตัดสินใจเลือกวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความมั่นใจในการแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ทำให้เกิดความมั่นใจในการเริ่มต้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสูงขึ้นซึ่งจะส่งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพก่อนที่จะเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและมีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนรวมทั้งมีแนวทางและเกิดทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองซึ่งจะเสริมให้ทรัพยากรบุคลเป็นทุนมนุษย์ที่แข็งแรงของหน่วยงานและสังคมและประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส.
- . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3 อ. 2ส.
- กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย :- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 50 คน
ระยะเวลา :- อบรมเชิงปฏิบัติการรวมทั้งหมด 5 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ วันเดือนปี กิจกรรม เนื้อหา
1 วันที่ 10 เมษายน 2560 1. บรรยาย
2. สาธิต - สถานการณ์และความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- อาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง
- สาธิตโมเดลอาหาร
- หวาน มัน เค็ม
- อาหาร 3 โซนสี
2 4 พฤษภาคม 2560 1. บรรยาย
2. สาธิต
3. ฝึกปฏิบัติ - การค้นหาแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- แนวคิดเรื่องการใช้พลังงานแต่ละวัน
- การออกกำลังกายสำหรับกลุ่มเสี่ยง
- การบริหารร่างกายแบบมณีเวช
3 7 กรกฎาคม 2560 1. สาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
2. ฝึกปฏิบัติ - สาธิต/ฝึกทำสลัดโรล / น้ำสลัดซีฟู๊ด
- สาธิต/ฝึกทำลาบไก่
- สาธิต/ฝึกทำลาบทูน่า
4 10 สิงหาคม 2560 1. บรรยาย
2. สาธิต
3. ฝึกปฏิบัติ - การออกกำลังกายแบบแอโรบิค
- เวทเทรนนิ่ง
- การใช้ยางยืด
5 5 กันยายน 2560 - จัดกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบ - แรงบันดาลใจของบุคคลต้นแบบ
- วิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของคนต้นแบบ
- ร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการ ประเมินพฤติกรรม 3อ. 2ส. พร้อมทั้งประเมินสภาวะสุขภาพก่อนอบรม และหลังอบรม
ประเมินสภาวะสุขภาพ และประเมินพฤติกรรม 3อ. 2ส. ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือน
ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย :- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรวมทั้งสิ้น 50 คน ดังนี้
ประเมินพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้แบบตนเตือนตน ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือน
ประเมินสภาวะสุขภาพ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด และดัชนีมวลกาย ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือน
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการ จัดบอร์ดให้ความรู้เรื่องแนวทางการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นำไปติดตั้งที่มัสยิด และร้านน้ำชา ทั้ง 5 หมู่บ้าน<br />
จัดทำบอร์ดให้ความรู้ โดยอสม.แต่ละหมู่บ้าน ซึ่งทำจากแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดขนาด 1 X 1.5 เมตร เนื้อหาประกอบด้วย การบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูง การหลีกเลี่ยงอาหารน้ำตาลสูง โดยได้นำบอร์ดประชาสัมพันธ์ไปติดตั้งที่มัสยิด และร้านน้ำชา ทั้ง 5 หมู่บ้าน
- กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. ผลลัพธ์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย 50 คน มีผลการประเมินความรู้/ทักษะหลังอบรมดังนี้
ก่อน/หลังอบรม จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้คะแนนความรู้/ทักษะ90 % ขึ้นไป คิดเป็น %
ก่อนอบรม 13 คน 46.00
หลังอบรม 42 คน 84.00
เพิ่มขึ้น 29 คน 58.00
2. กลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 คน ใช้แบบตนเตือนตนในการสำรวจพฤติกรรม
หากปฏิบัติเป็นประจำต่ำกว่า 3 ข้อ ถือว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงต่ำ
ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม หลังเข้าร่วมกิจกรรม
จำนวนผู้มีพฤติกรรม
เสี่ยงต่ำ คิดเป็นร้อยละ จำนวนผู้มีพฤติกรรมต่ำ คิดเป็นร้อยละ เพิ่มขึ้นร้อยละ
3 คน 6.00 34 คน 68.00 62.00
กลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 คน จะได้รับการประเมินสภาวะสุขภาพ ก่อนอบรม และหลังอบรม เป็นระยะ ทุก 1 เดือนโดยกำหนดเงื่อนไขและเกณฑ์การประเมินดังนี้
เงื่อนไข เกณฑ์การประเมิน 1.น้ำหนักร่างกาย ลดลงทุกเดือน 2.เส้นรอบเอว ลดลงทุกเดือน 3.ระดับความดันโลหิต ครั้งสุดท้ายต้อง ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 4.ระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งสุดท้ายต้อง ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 5.ดัชนีมวลกาย ครั้งสุดท้ายต่ำ กว่าครั้งแรก วิเคราะห์ผลลัพธ์โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดอ้วนลดพุงลดเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดของโครงการ 1 กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. ผลลัพธ์ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องร้อยละ84.00 การประเมินโครงการ ผ่านตัวชี้วัดของโครงการตัวชี้วัดของโครงการ 2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 60 มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ร้อยละ 68.00
การประเมินโครงการ ผ่านตัวชี้วัดของโครงการตัวชี้วัดของโครงการ 3 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 50 มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย 50 คน มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น จำนวน 21 คน คิดเป็น ร้อยละ 42 การประเมินโครงการ ไม่ผ่านตัวชี้วัดของโครงการ
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
ลำดับ ปัญหาอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
1 กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถลดน้ำหนัก/รอบเอว/ระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ 1.1ขาดปัจจัยเอื้อในชุมชน - จัดตั้งกลุ่มออกกำลังกายทุกหมู่บ้าน
- สนับสนุนร้านค้า/ร้านน้ำชาจำหน่ายเมนูเพื่อสุขภาพ ทดแทนของว่างประเภทขนมทอด
1.2ไม่มีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสป.สช.อบต.ลิดล ในปีต่อไป เพื่อจัดประกวดค้นหาบุคคลต้นแบบ
โดยผู้ที่ผ่านเกณฑ์สุขภาพดีจะต้องผ่านเงื่อนไขอย่างน้อย 2 ข้อจึงจะถือว่ามีสุขภาพดีขึ้น
เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมครั้งสุดท้ายพบว่ากลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. (2) . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80มีสภาวะสุขภาพดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอ้วน ลดพุง ลดเสี่ยง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางซาลีนาเจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......