กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางญาณิศา น้อยสร้าง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8405-1-4 เลขที่ข้อตกลง 04/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L8405-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย จึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่นมารดาและทารกปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพแข็งแรง น้ำหนักทารกแรกเกิด เป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญของการเจริญเติบโต และการมีชีวิตรอดของทารก ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มีอัตราการอยู่รอดต่ำ มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กล่าช้า ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค ของการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด เกิดในกลุ่มทารกน้ำหนักน้อย หรือถ้ารอดตายในช่วงต้นของชีวิต ก็อาจมีปัญหา ในด้านการเจริญเติบโต หรือพัฒนาการตามมา เช่น ปัญหาในด้านการเรียน การมองเห็น โรคทางเดินหายใจ โรคทางเดินอาหาร หรือการเป็นเด็กพิการ ปัญญาอ่อน จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2560 – 2562พบว่ามีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 7.19, 7.90 และ 7.83 ตามลำดับ (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7) การคลอดก่อนกำหนด เป็นสาเหตุปัจจัยของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 4.62, 5.22 และ 8.51 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆอีกเช่น ปัจจัยด้านการเจริญเติบโตช้าในครรภ์อันเนื่องมาจากภาวะโภชนาการการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ภาวะแคระแกร็น พฤติกรรมการบริโภค การทำงาน และการพักผ่อนของหญิงตั้งครรภ์ก็มีผลต่อการมีพัฒนาการล่าช้าของเด็กข้อมูลหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 3 ปีย้อนหลัง พบมีการฝากครรภ์ร้อยละ94.62 , 55.41และ 94.75 ตามลำดับ (เป้าหมาย ร้อย 60) ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ89.06 96.88และ86.96ตามลำดับ ( เป้าหมาย ร้อยละ 65 )และนอกจากนี้มีจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ต้องดูแลและติดตามต่อเนื่องจากปี 2564และค้นหาเพิ่มเติมในปี 2565 จำนวน 5 คน และจากปีที่ผ่านมา โดยมีกิจกรรมการดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ตลอดจนเด็กอายุแรกเกิดจนถึง 5 ปี และสร้างความเข็มแข็งของเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก จากผลสรุปงานกิจกรรมในโครงการรณรงค์ให้หญิงมีครรภ์ได้มีการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12สัปดาห์ได้ร้อยละ 94.74 ในปี2562 ร้อยละ55.41 เพิ่มขึ้น ร้อยละ39.33 ซึ่งส่งผลต่อหญิงมีครรภ์คลอดลูกมีน้ำหนักแรกคลอดมากกว่า 2,500 กรัม และการรณรงค์ตรวจพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ในปี2563 ตรวจพัฒนาการร้อยละ 93.65พบเด็กที่สงสัยล่าช้า ร้อยละ 5.37 ปี2564ตรวจร้อยละ 96.49 พบล่าช้า ร้อยละ 7.28 ซึ่งการที่ค้นพบเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้เร็วและครอบคลุมจะทำให้เด็กจะได้รับการดูแลเร็วขึ้นโดยได้รับการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย ส่งผลให้เด็กมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณภาพ และเกิดการทำงานแบบบูรณาการ โดยใช้กลไกลของภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ทำให้การดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่งดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ เห็นความสำคัญในการดำเนินงานด้านแม่และเด็กจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความตระหนักในการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายได้ตระหนักในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่อายุน้อยกว่า20ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ
  4. เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลติดตามเยี่ยมตามเกณฑ์ 2. มารดาอายุน้อยกว่า20ปีไม่ตั้งครรภ์ซ้ำ
3.เด็กวัย0-5ปีมีพัฒนาการสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
  2. ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 20 คน
  3. ติดตามแจกไข่ไก่ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่ให้นมบุตร จำนวน 20 คน
  4. ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด โดยเจ้าหน้าที่และ อสม.

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความตระหนักในการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายได้ตระหนักในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5ครั้งตามเกณฑ์และได้รับการติดตามเยี่ยมขณะตั้งครรภ์ของภาคีเครือข่าย ร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่อายุน้อยกว่า20ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ
ตัวชี้วัด : มารดาอายุน้อยกว่า20 ปี ไม่มีการตั้งครรภ์ซ้ำร้อยละ 100
100.00

 

4 เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ0-5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการ ร้อยละ 90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความตระหนักในการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายได้ตระหนักในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่อายุน้อยกว่า20ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ (4) เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8405-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางญาณิศา น้อยสร้าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด