กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง ”
ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายเจษฎา อาแซ




ชื่อโครงการ อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง

ที่อยู่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 ตุลาคม 2560 ถึง 11 ตุลาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 ตุลาคม 2560 - 11 ตุลาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากประชากรในปัจจุบันในตำบลจะแนะมีประชากรเพิ่มขึ้นส่งผลให้อัตราการใช้ที่ดินเพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการด้านการอุปโภคบริโภค และที่อยู่อาศัย ผลกระทบของความเจริญที่เกิดตามมาคือการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและสิ่งของเหลือใช้ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอนามัยของประชาชนส่งกลิ่นเหม็น และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค ขยะบางชนิดเป็นอันตรายและปนเปื้อนในแหล่งน้ำ ดิน อากาศ และอาหาร ทำให้ชุมชนเสี่ยงต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่างๆ อีกทั้งขยะส่งกลิ่นเหม็นสร้างความรำคาญ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค ขยะเหล่านี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปีเพราะชุมชนไม่มีระบบการจัดการขยะที่ถูกต้องเหมาะสมและขาดกระบวนการบริหารและการจัดการที่ถูกต้อง เนื่องจากประชาชนขาดความสนใจในการคัดแยกและการกำจัดขยะ การกำจัดถูกปล่อยให้เป็นหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลจะแนะแต่เพียงฝ่ายเดียว แม้ว่าองค์การบริหารส่วนตำบลจะแนะจะมีรูปการจัดการขยะโดยการเผาและการฝังกลบ แต่วิธีทั้งสองก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประกอบกับความมักง่ายในการทิ้งขยะของประชาชนในชุมชนโดยไม่มีการคัดขยะก่อนทิ้งและประชาชนส่วนใหญ่นำขยะมาเทก่อนรวมกันไว้ริมถนน ที่ดินว่างเปล่าหรือที่ดินสาธารณะ ทำให้ขยะส่งกลิ่นเหม็นและเป็นเพาะพันธ์เชื้อโรค การดำเนินการจัดการกำจัดขยะโดยวิธีการเผาก่อให้เกิดมูลพิษและกลุ่มควันเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ อีกทั้งการเผาไม่สามารถลดปริมาณขยะลงได้เนื่องจากมีขยะที่ไม่ติดไฟร่วมด้วย จากปัญหาดังกล่าวชุมชนบ้านมะนังกาแยงจึงได้ตระหนักให้ความสำคัญของปัญหาและวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม และพยายามสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่นในการเก็บขนขยะมูลฝอย การคัดแยกขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย และการสร้างจิตสำนึกทางสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ การจัดการรูปแบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนซึ่งต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักเริ่มจากการทิ้งขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ควรมีการสร้างความเข้าใจให้กับชุมชน ซึ่งถือได้ว่าชุมชนเป็นผู้สร้างขยะและควรเป็นผู้มีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยให้มีการคัดแยกขยะก่อนที่จะทิ้ง เพื่อลดปริมาณขยะและพื้นที่จัดเก็บ อีกทั้งเป็นการรักษาสภาพแวดล้อมและตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ตลอดจนเป็นการสร้างสุขลักษณะนิสัยในการทิ้งขยะอย่างถูกวิธี ดังนั้น ชมรม อสม.บ้านมะนังกาแยงได้เล็งเห็นของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ
  2. ๒. เพื่อให้ความรู้ รณรงค์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการประชารัฐ “ จังหวัดสะอาด “
  3. ๓. เพื่อความสะอาดเป็นระเบียบสวยงามในชุมชนและ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  4. ๔.เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบด้านสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. มีการลดปริมาณขยะลงได้ เพราะเมื่อแยกวัสดุส่วนที่ยังมีประโยชน์ออกไป เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติก ฯลฯ ก็จะเหลือปริมาณขยะจริงที่จำเป็นต้องกำจัดขยะ
๒ประหยัดงบประมาณลงได้ เพราะในเมื่อเหลือปริมาณขยะจริงที่จำเป็นต้องกำจัดน้อยลง จึงใช้งบประมาณน้อยลงในการเก็บขนและกำจัดขยะ เช่น สามารถซื้อถังขยะให้น้อยลง
๓.ได้วัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่เรียกว่า (Recycle ๔.ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะ
๕. ช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น เพราะในเมื่อขยะน้อยลง สิ่งแวดล้อมก็จะต้องดีขึ้น สะอาดขึ้น ปลอดภัยต่อสุขภาพมากขึ้น ซึ่งผลประโยชน์ที่กล่าวมาทั้ง ๔ ประการก็เป็นผลประโยชน์ของทุกคนในท้องถิ่นร่วมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ ๒ การคัดแยก

วันที่ 11 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้การคัดแยกขยะ

 

60 0

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 11 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการคัดแยกขยะประเภทต่างๆได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ
ตัวชี้วัด :

 

2 ๒. เพื่อให้ความรู้ รณรงค์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการประชารัฐ “ จังหวัดสะอาด “
ตัวชี้วัด :

 

3 ๓. เพื่อความสะอาดเป็นระเบียบสวยงามในชุมชนและ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

4 ๔.เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบด้านสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ (2) ๒. เพื่อให้ความรู้ รณรงค์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการประชารัฐ “ จังหวัดสะอาด “ (3) ๓. เพื่อความสะอาดเป็นระเบียบสวยงามในชุมชนและ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (4) ๔.เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบด้านสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและของเสียอันตรายโดยชุมชนมีส่วนร่วมบ้านมะนังกาแยง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจษฎา อาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด