กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเต่า


“ โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายบุญเลิศ ภูริปัญญานันท์

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเต่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเต่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมปัจจุบันส่งผลให้การดารงชีพของครอบครัวไทยจำนวนมากต้องดิ้นรน เพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในโลกโลกาภิวัตน์ประชากร วัยแรงงานต้องเข้าสู่ระบบการทางานที่เร่งรีบและแข่งขันสูง พ่อแม่ ผู้ปกครองต้องทามาหากินเลี้ยงชีพ เป็นผลให้ครอบครัวไทยส่วนหนึ่งไม่สามารถดูแลวัยรุ่นให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ เยาวชนจานวนมาก ไม่สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของตนเองเมื่อก้าวเข้าสู่วัยรุ่น และไม่อาจปรับตัวให้เท่าทันสภาพแวดล้อม รอบตัวได้ ขณะเดียวกันวัยรุ่นยังขาดโอกาสเรียนรู้เรื่องทักษะชีวิต และไม่สามารถเข้าถึงบริการปรึกษาแนะนาที่เป็นมิตรกับเยาวชน นอกจากนี้ความก้าวหน้าของยุคไซเบอร์และการไหลเวียนทางวัฒนธรรม ทำให้วัยรุ่นเข้าถึงสื่อทุกรูปแบบได้โดยไร้ขีดจากัด รวมถึงการพัฒนาด้านสาธารณสุขและการกินอยู่ที่ดีขึ้นทาให้เด็กเติบโตสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เร็วขึ้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้มีผลให้เด็กมีพฤติกรรมทางเพศเร็วขึ้นโดยขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ขาดการฝึกฝนทักษะชีวิต เพื่อดูแลและรักษาความสัมพันธ์ทางเพศให้ราบรื่นปลอดภัย ไม่เกิดผลกระทบ ทั้งต่อตนเองและคนที่เกี่ยวข้อง เป็นที่ทราบกันดีว่าปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุน้อยซึ่งเป็นวัยที่ยังขาดความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ วุฒิภาวะ ฯลฯ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังเป็นปัจจัยบั่นทอนคุณภาพประชากร ดังที่กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA)ได้ให้ข้อสรุปที่สำคัญว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัจจัยคุกคามคุณภาพประชากรในระยะยาว ดังนั้นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นภารกิจที่สำคัญในช่วงที่สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เมื่ออัตราส่วนและจานวนผู้สูงอายุกาลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ขณะที่อัตราเกิดของประชากรลดลงและแนวโน้มประชากรไทยจะเริ่มลดลงในระยะ ๕ - ๑๐ ปีข้างหน้าทาให้มี “การเกิดน้อย ด้อยคุณภาพ” ดังนั้น การเกิดที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีจึงมีความสำคัญมาก ประเทศไทยมีอัตราการเกิดโดยรวมลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๓ แต่ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา กลับมีอัตราการเกิดในกลุ่มแม่วัยรุ่นเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จากรายงานสถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย1 พบว่าในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ มีจำนวนการคลอดทั้งหมด ๗๔๘,๐๖๗ ราย โดยในจำนวนนี้เป็นการคลอดจากวัยรุ่นหรือผู้มีอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี จานวน ๑๒๕,๓๗๑ ราย (ร้อยละ ๑๖.๘) เพิ่มขึ้นจาก ๑๑๒,๖๗๕ ราย (ร้อยละ ๑๓.๙) ใน พ.ศ. ๒๕๔๗ คิดเป็นอัตราการคลอดของหญิงอายุ ๑๕ - ๑๙ ปี ต่อประชากรหญิง ๑๕ - ๑๙ ปี ๑,๐๐๐ คน เท่ากับ ๕๑.๒ ใน (สถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข)พ.ศ. ๒๕๕๖ นอกจากนี้จำนวนคลอดซ้ำในกลุ่มวัยรุ่นมีจำนวน ๑๕,๒๒๙ รายจากจำนวนคลอดทั้งหมดใน พ.ศ. ๒๕๕๖ (ร้อยละ ๑๒.๒) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๑๑.๐ ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ จากรายงานการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยสานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย2 พบว่าสัดส่วนการทำแท้งในกลุ่มอายุ ๑๕ - ๑๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๑ ของผู้ป่วยที่ทำแท้ง ในสถานพยาบาล และการทำแท้งซ้ำในกลุ่มอายุนี้ มีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ ๖.๙ การเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นส่งผลกระทบตามมาหลายด้านได้แก่ เด็กแรกเกิด มีน้าหนักต่ำกว่าเกณฑ์ การทำแท้งการขาดโอกาสทางการศึกษา มีแม่เลี้ยงเดี่ยวอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีเพิ่มขึ้น การสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ วัยรุ่นอายุ ๑๕ - ๑๙ ปี ร้อยละ ๓๒ ต้องออกจากการศึกษา ซึ่งการตั้งครรภ์ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้วัยรุ่นต้องหยุดเรียน หันไปประกอบอาชีพที่มีรายได้ต่ำ เป็นไปได้ว่าวัยรุ่นที่คลอดปีละกว่า ๑ แสนคนนี้ ส่วนใหญ่ต้องหยุดเรียนกลางคันและไม่สามารถเรียนต่อได้ด้วยเหตุผลต่างๆ อนึ่ง ข้อมูลจากสำนักเลขาธิการสภาการศึกษารายงานว่า อัตราการออกจากโรงเรียนกลางคันด้วยเหตุสมรสในกลุ่มนักเรียนประถมศึกษา ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๔๘ - ๒๕๕๕ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๐.๙ เป็น ๒.๗ กลุ่มมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มจากร้อยละ ๕.๑ เป็น ๖.๒ และกลุ่มมัธยมตอนปลายจากร้อยละ ๔.๒ เป็น ๖.๕ ๑.๒
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากเหมืองได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการวัยรุ่น วัยใสใส่ใจสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการทางเพศของตนเองโดยให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิด มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อนเปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาทางเพศ การแก้ไขและการป้องกันปัญหา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและการพัฒนาตนเองเข้าสู่วัยรุ่น
  2. ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. ๓. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
  4. 4. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.นักเรียน เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของวัยรุ่น
    ๒. นักเรียน เยาวชนมีความรู้และมีทักษะ ในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเพศศึกษา
    ๓. นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรู้คุณค่าของตนเอง ๔. มีเครือข่ายในโรงเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและการพัฒนาตนเองเข้าสู่วัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและการพัฒนาตนเองเข้าสู่วัยรุ่น (2) ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ (3) ๓. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง (4) 4. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายบุญเลิศ ภูริปัญญานันท์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด