กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสิลาด แก้วขุนทอง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3326-01-004 เลขที่ข้อตกลง 2/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3326-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนไทยยังคงเป็นปัญหาสำคัญ โดยเฉพาะโรคฟันผุในเด็กเล็กซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการ สุขภาพ การบดเคี้ยว ตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวันข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 8 ปี พ.ศ. 2560 พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 52.9 โดยส่วนใหญ่ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 52 และเด็กอายุ 5 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 75.6ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 73.8ในขณะที่ภาคใต้ พบว่าเด็ก 3 ปีมีอัตราการเกิดฟันผุสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ เป็นร้อยละ 51 และเป็นฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษาสูงสุดร้อยละ 50สำหรับจังหวัดพัทลุง ปัญหาฟันผุใน เด็กเล็กยังเป็นปัญหาสำคัญ โดยจากระบบรายงานสาธารณสุข(HDC) ปี พ.ศ. 2561 -2562พบว่ามีความชุกฟันผุในฟันน้ำนม เป็นร้อยละ 55.2 และ 49.2 ตามลำดับ และจากการสำรวจสภาวะช่องปากในเด็กอายุ 1- 5 ปีของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ในปี 2551 พบว่า เด็กมีอัตราการเกิดฟันผุ ร้อยละ 55.8ส่วนใหญ่เด็กมีฟันผุในช่องปากอย่างน้อย 1ซี่
สำหรับมาตรการในการแก้ปัญหาโรคฟันผุในเด็กเล็ก เน้นการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี โดยการให้บริการเชิงรุก บูรณาการงานสุขภาพช่องปากกับสหวิชาชีพ ในทุกสถานบริการ ได้แก่ การให้ความรู้ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภคและการดูแลช่องปากเด็กเล็กแก่ผู้ปกครอง ฝึกทักษะการแปรงฟันให้กับผู้ปกครอง รณรงค์การแปรงฟันก่อนนอนให้เด็กโดยผู้ปกครอง การตรวจสุขภาพช่องปากและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง การทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ และสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมทั้งการมุ่งเน้นการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนากิจกรรมด้านการสร้างเสริมป้องกันโรคในช่องปากให้มีประสิทธิภาพ ปัจจุบันมีนวัตกรรมใหม่ คือ การพัฒนาจุลินทรีย์โพรไบโอติกส์เพื่อป้องกันฟันผุ จากการคัดเลือกสายพันธ์สู่การนำไปใช้ ซึ่งเป็นผลงานการวิจัยที่ได้รับรางวัลดีเด่นในระดับนานาชาติ ของ ศ.ดร.รวี เถียรไพศาล และผศ.ดร.ทพญ.สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์โดยจุลินทรีย์ที่มีชีวิต เมื่อร่างกายได้รับในปริมาณที่เพียงพอ จะทำให้เกิดผลที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ (อย.กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 346 พ.ศ.2555) กลไกการทำงานของจุลินทรีย์โพรไบโอติกส์ ได้แก่ แข่งขันการได้รับสารอาหารและพื้นที่ยึดเกาะจากเชื้อที่ก่อโรค ปล่อยสารโปรตีนที่ต้านจุลชิพ และกระตุ้นภูมิคุ้มกันในช่องปาก ปัจจุบันมีการพัฒนาในรูปแบบ “นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติกส์” ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ง่าย ซึ่งจากการศึกษาวิจัยพบว่า ผลการป้องกันฟันผุและการเกิดฟันผุใหม่ในเด็กเล็กที่มีฟันผุ 0-2 ซี่ ได้ถึง 5.25 เท่าและในเด็กที่มีฟันผุ 2-5 ซี่ มีผลในการป้องกันการเกิดฟันผุใหม่ 3.6 เท่า และเด็กที่มีฟันผุมากกว่า6 ซี่ มีผลในการป้องกันการเกิดฟันผุใหม่ 2.7 เท่า (nuntiya et. Al,2018 ) การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกส์ในการป้องกันฟันผุจึงเป็นนวัตกรรมใหม่ที่นำมาส่งเสริมให้เด็กสร้างภูมิต้านทานเชื้อโรคโดยตนเองภายใต้การจัดการให้ได้รับอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1 ปี ร่วมกับการแปรงฟันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์อย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน ให้สอดคล้องในการป้องกันโรคในภาวะชีวิตวิถีใหม่ (new normal)และในปี 2565เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด
ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโตนดอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ได้เห็นความสำคัญของการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันฟันผุอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลแหลมโตนด ปี 2565ขึ้น เพี่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพช่องปากที่ดีในชีวิตวิถีใหม่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตเทศบาลตำบลแหลมโตนด
  2. 2. เพื่อป้องกันการเกิดฟันผุใหม่ในฟันน้ำนมในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. ป้องกันการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 88
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสู่สุขภาพ 3 ดี (สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย)
  2. ผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพเด็กสู่สุขภาพ 3 ดี
  3. ลดอัตราการเกิดฟันผุอย่างน้อยร้อยละ2 ต่อปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
  2. ผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพเด็กสู่สุขภาพช่องปากที่ดี
  3. การใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันโรคฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทำให้ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุได้ และจะต้องติดตามผลอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเป็นการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตเทศบาลตำบลแหลมโตนด
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ได้รับนมไพรไบโอติกส์
0.00

 

2 2. เพื่อป้องกันการเกิดฟันผุใหม่ในฟันน้ำนมในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดฟันผุในเด็กปฐมวัยไม่เพิ่มขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 88
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตเทศบาลตำบลแหลมโตนด (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดฟันผุใหม่ในฟันน้ำนมในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) ป้องกันการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการใช้นวัตกรรมนมโพรไบโอติกส์ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแหลมโตนด ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3326-01-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิลาด แก้วขุนทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด