กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ สร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควน

ชื่อโครงการ สร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3336-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3336-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัยมาตั้งแต่ปี 2548 คือมีสัดส่วนประชากรอายุ 610 ปีขึ้นไปถึงร้อยละ 10 ประชากรสูงอายุกำลังเพิ่มขึ้นด้วยอัตราที่เร็วมาก คือ สูงกว่าร้อยละ 4 ต่อปี และจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ คือมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึงร้อยละ 20 ในปี 2564 และจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดเมื่อมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึงร้อยละ 28 ในปี 2574
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุมิใช่อยู่ที่อายุุซึ่งเป็นเพียงตัวเลขอย่างเดียวเท่านั้น แต่การเปลี่ยนแปลงของร่างกายจะเห็นได้ชัดนั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลาย ๆ อย่าง เช่น พันธุกรรม การดำรงชีวิต การดำเนินชีวิต และสุขภาพจิตใจด้วย จะเห็นว่าบางคนแม้อายุมาก ทำไมจึงดูไม่แก่ แต่บางคนอายุไม่มาก ทำไมดูแก่เกินวัย ทั้งนี้เป็นเพราะองค์ประกอบดังได้กล่าวมาแล้ว ฉะนั้นการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุจะขึ้นอยู่กับการได้รับความรู้ว่าเมื่อย่างเข้าสู่วัยสูงอายุจะมีการเสื่อมของร่างกาย รู้ถึงการปรับตัวหรือสังเกตการเสื่อมของร่างกายได้อย่างไร ถ้าขาดความรู้ ความเข้าใจ อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์อย่างมากมาย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายนั้นเอง ผู้สูงอายุ เมื่อร่างกายเสื่อมสมรรถภาพ มักจะประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น ความวิตกกังวล กลัวว่าจะต้องพึ่งลูกหลาน การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ ผู้สูงอายุบางคนซึมเศร้า หงุดหงิด ระแวง เอาแต่ใจตนเอง ทำให้รู้สึกว่าเป็นการสูญเสียทางใจ หมดกำลังใจ นอนไม่หลับ การเปลี่ยนแปลงทางความคิด ผู้สูงอายุมักจะคิดซ้ำซาก ลังเล ระแวง หมกมุ่นเรื่องของตัวเอง และเรื่องในอดีต จะคิดเรื่องในอดีตด้วยความเสียใจ เสียดาย ที่ปล่อยเวลาที่ผ่านมาให้เปล่าประโยชน์ และคิดถึงปัจจุบันด้วยความหวาดกลัว กลัวถูกทอดทิ้ง กลัวถูกเขารังเกียจ พฤติกรรม มักเอาแต่ใจตัวเอง จู้จี้ ขี้บ่น อยู่ไม่สุข ชอบยุ่งเรื่องคนอื่น หรืออาจมีปัญหาทางเพศ ความจำ มักจำปัจจุบันไม่ค่อยได้ และชอบย้ำคำถามซ้ำๆ กับคนที่คุยด้วย ทำให้เกิดความเบื่อหน่าย บางรายจำผิดพลาด และพยายามแต่เรื่องรายจนกลายเป็นพูดเท็จเป็นภาวะที่เรียกว่าสมองเสื่อม โรคจิต ความพิการทางสมอง มีการเสื่อมของสมอง เป็นต้น ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควน มีเขตครอบคลุม 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2, 3, 6 และ 11 ตำบลดอนประดู่ มีกลุ่มผู้สูงอายุ 548 คน ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง โรคสมองและหลอดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต จำนวน 260 คน ผู้พิการ 37 คน ติดบ้าน/ติดเตียง จำนวน 25 คน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควน จึงได้จัดทำโครงการสร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ปัองกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความมั่นใจในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถช่วยเหลือตนเองและเพื่อนได้ตามอัตภาพ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม
  2. เพื่อสนับสนุนให้ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควนมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่พึงประสงค์
    2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดี อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
    3. ชมรม ฒ ผู้เฒ่า บ้านหัวควน มีกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน
    4. ชมรม ฒ ผู้เฒ่า บ้านหัวควนมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการสร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง ผลการดำเนินโครงการ 1. ผู้สูงอายุมีความรู้ในการตรวจและดูแลสุขภาพตนเอง 2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี ได้เข้าวัด ฟังธรรม และมีการสนทนากัน 3. ผู้สูงอายุได้มีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 4. ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ครั้งละ 15 - 30 นาที
    5. มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ โดยมีฟัน 4 คู่สบ จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 88 งบประมาณที่ใช้ 1. ค่าอาหารกลางวันกิจกรรมประชุมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน คนละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกิจกรรมประชุมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน คนละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
    3. ค่าอาหารกลางวันกิจกรรมประชุมส่งเสริมสุขภาพจิตใจเข้าวัด ฟังธรรม และสันทนาการ จำนวน 50 คน คนละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกิจกรรมประชุมส่งเสริมสุขภาพจิตใจเข้าวัด ฟังธรรม และสันทนาการ จำนวน 50 คน คนละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท   รวมเป็นเงินทั้งหมด  10,000 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ ร้อยละ 75

     

    2 เพื่อสนับสนุนให้ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควนมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควน มีการจัดประชุมและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม (2) เพื่อสนับสนุนให้ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควนมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สร้างความมั่นใจผู้สูงวัย ป้องกันภัยสุขภาพด้วยตนเอง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3336-2-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรม ฒ ผู้เฒ่าบ้านหัวควน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด