กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ


“ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสิราภรณ์ สุวรรณการณ์

ชื่อโครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5247-1-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5247-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 270,184.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในประเทศไทย พบจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 3,370ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสมจำนวน 2,149,413 ราย หายป่วยสะสม 2,083,275ราย และเสียชีวิตสะสม 21,166ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2564) การระบาดละลอกใหม่นี้มีรายงานผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก และพบผู้ป่วยในหลายพื้นที่ ตลอดจนมีรายงานการติดต่อระหว่างคนสู่คนภายในประเทศ จึงเป็นเหตุผลสำคัญให้ทางองค์การอนามัยโลกได้ประกาศเป็นภาวะฉุกเฉินระดับโลก จากสถานการณ์การระบาดรอบใหม่ของประเทศไทย ทำให้ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกาศยกระดับตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะโดยที่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด – 19 ยังมีการกลายพันธุ์เป็นหลายสายพันธุ์ และคงทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเสี่ยงที่จะเกิดภาวะวิกฤติด้านสาธารณสุข และสำหรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในอำเภอสะเดา พบจำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมจำนวน 4,722 ราย เสียชีวิตสะสมจำนวน 28 ราย โดยผู้ป่วยยืนยันสะสมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ มีจำนวน 107 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2564) ดังนั้น เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคดังกล่าว องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการณ์เริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อ หรือผู้ติดเชื้อได้รับการดูแลระหว่างการกักตัว เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้ในการปฏิบัติงาน ลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาด และติดเชื้อโควิด – 19

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
  3. เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดบริการกักตัวบุคคลกลุ่มเสี่ยงสูงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ มาตรการป้องกันโรคโควิด-19
  3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ สำหรับใช้ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคโควิด 19 (COVID-19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลระหว่างการกักตัว เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานปลอดภัยจากการติดเชื้อ
  • มีการป้องกันการติดต่อแพร่ระบาดโดยติดตาม เฝ้าระวัง และการแยกสังเกตอาการ ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
85.00 90.00

 

2 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
90.00 95.00

 

3 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง
33.00 10.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น (3) เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง (4) เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดบริการกักตัวบุคคลกลุ่มเสี่ยงสูงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (2) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (3) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ สำหรับใช้ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคโควิด 19 (COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5247-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสิราภรณ์ สุวรรณการณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด