โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี ”
ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี
ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L339-01-01 เลขที่ข้อตกลง 0002/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L339-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายนำการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกผสมผสาน เข้าสู่ระบบบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพ่อให้บริการเชิงรุกแก่ประชาชนในชุมชนในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เช่น กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มหญิงหลังคลอด กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเนื้อเรื้อรังในชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และมีนโยบายสนับสนุนให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง มีการใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการร่วมกับการให้บริการแพทย์แผนไทย เช่น บริการนวด อบ ประคบสมุนไพร และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดูแลมารดาหลังคลอด โดยบุคลากรแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรต่างๆ เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน และเป็นทางเลือกแก่ประชาชนในพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด จำนวน 4,391 ตน ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวน รับจ้าง จากสถิติการให้บริการในหน่วยบริการ พบว่า ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง อาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตหรือโรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ซื้อทำให้เกิดภาวะเเทรกซ้อนต่างๆ ได้ง่าย ที่สำคัญทำให้ผู้ป่วยต้องรับประทานยาหลายชนิดในปริมาณที่มากในระยะเวลานานซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานของดับและไตของผู้ป่วยได้
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า ปัญหาโรคเรื้อรังต่างๆ ข้างต้นล้วนเป็นโรคที่คุกคามต่อชีวิตและความเป็นอยู่ ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยและครอบครัวต้องใช้งบประมานสูง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา พยาบาล การบำบัดรักษาด้วยศาตร์การเเพทย์แผนไทย เป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นทางเลือกในการดูแลส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการเฝ้าระวังโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่ได้ผลในการรักษาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจควบคู่ไปกับการเเพทย์แผนปัจจุบันที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาทิ การนวดเพื่อบำบัดหรือการนวดเพื่อฟื้นฟูร่างการของผู้ป่วยโรคอัมพฤกษ์อัมพาตหรือโรคหลอดเลือดสมอง การฟื้นฟูโดยการนวดจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดลมในร่างกาย ทำให้เกิดความผ่อนคลาย ช่วยยืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อลดหรือบรรเทาการยึดติดของข้อ ช่วยทำให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวันเพื่อช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีกรรมวิธีการดูแลรักษากลุ่มอาการต่างๆ การดูแลบำรุงรักษาเท้าในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตและโรคเบาหวานด้วยการแช่เท้าในน้ำสมุนไพร การพอกข้อหรือข้อเข่าที่มีภาวะอักเสบ บวม แดง ร้อนด้วยเครื่องยาพอกสูตรต่างๆ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องข้อหรือผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม การอยู่ไฟในสตรีหลังคลอดด้วยการอบไอน้ำสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การนั่งถ่าน และการอาบน้ำสมุนไพร เพื่อให้ร่างกายพ้นจากความเมื่อยล้า เพื่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพแบบองค์กรรวม ซึ่งเป็นอีกทางหนึ่งในวิธีที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ เป็นการลดการใช้ยา รวมถึงการปรับภูมิทัศน์อาคารสถานที่ให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยของประชาชนที่มารับบริการ ตลอดจนการส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยให้ผู้รับบริการ
ในปี 2563-2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีผู้มารับบริการด้วยการแพทย์แผนไทยและยาสมุนไพร จำนวน 1,400 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.33 และมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาพยาบาล จำนวน 43,099 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.46 ซึ่งยังต่ำกว่าเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
จากเหตุผลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการบริการสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยให้กับประชาชนผู้มารับบริการ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค
- ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน
- ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชน
- ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร ในการดูแลผู้ป่วย/มารดาหลังคลอด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายทุกกลุมได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทำให้เกิดความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง คนในครอบครัวและชุมชน มีการใช้สมุนไพรและการแพทย์แผนไทยเป็นทางเลือกในการรักษา และช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ทั้งได้พัฒนาหน่วยบริการได้มาตราฐานบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนใช้สมุนไพร/แพทย์ทางเลือก ที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค มากว่าร้อยละ 25
10.00
25.00
2
ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกสมุนไพร เพื่อใช้ในครัวเรือน
10.00
25.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค (2) ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน (2) ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชน (3) ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร ในการดูแลผู้ป่วย/มารดาหลังคลอด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L339-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี ”
ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L339-01-01 เลขที่ข้อตกลง 0002/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L339-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายนำการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกผสมผสาน เข้าสู่ระบบบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพ่อให้บริการเชิงรุกแก่ประชาชนในชุมชนในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เช่น กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มหญิงหลังคลอด กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเนื้อเรื้อรังในชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และมีนโยบายสนับสนุนให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง มีการใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการร่วมกับการให้บริการแพทย์แผนไทย เช่น บริการนวด อบ ประคบสมุนไพร และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดูแลมารดาหลังคลอด โดยบุคลากรแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรต่างๆ เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน และเป็นทางเลือกแก่ประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด จำนวน 4,391 ตน ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวน รับจ้าง จากสถิติการให้บริการในหน่วยบริการ พบว่า ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง อาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตหรือโรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ซื้อทำให้เกิดภาวะเเทรกซ้อนต่างๆ ได้ง่าย ที่สำคัญทำให้ผู้ป่วยต้องรับประทานยาหลายชนิดในปริมาณที่มากในระยะเวลานานซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานของดับและไตของผู้ป่วยได้ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า ปัญหาโรคเรื้อรังต่างๆ ข้างต้นล้วนเป็นโรคที่คุกคามต่อชีวิตและความเป็นอยู่ ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยและครอบครัวต้องใช้งบประมานสูง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา พยาบาล การบำบัดรักษาด้วยศาตร์การเเพทย์แผนไทย เป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นทางเลือกในการดูแลส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการเฝ้าระวังโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่ได้ผลในการรักษาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจควบคู่ไปกับการเเพทย์แผนปัจจุบันที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาทิ การนวดเพื่อบำบัดหรือการนวดเพื่อฟื้นฟูร่างการของผู้ป่วยโรคอัมพฤกษ์อัมพาตหรือโรคหลอดเลือดสมอง การฟื้นฟูโดยการนวดจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดลมในร่างกาย ทำให้เกิดความผ่อนคลาย ช่วยยืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อลดหรือบรรเทาการยึดติดของข้อ ช่วยทำให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวันเพื่อช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีกรรมวิธีการดูแลรักษากลุ่มอาการต่างๆ การดูแลบำรุงรักษาเท้าในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตและโรคเบาหวานด้วยการแช่เท้าในน้ำสมุนไพร การพอกข้อหรือข้อเข่าที่มีภาวะอักเสบ บวม แดง ร้อนด้วยเครื่องยาพอกสูตรต่างๆ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องข้อหรือผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม การอยู่ไฟในสตรีหลังคลอดด้วยการอบไอน้ำสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การนั่งถ่าน และการอาบน้ำสมุนไพร เพื่อให้ร่างกายพ้นจากความเมื่อยล้า เพื่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพแบบองค์กรรวม ซึ่งเป็นอีกทางหนึ่งในวิธีที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ เป็นการลดการใช้ยา รวมถึงการปรับภูมิทัศน์อาคารสถานที่ให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยของประชาชนที่มารับบริการ ตลอดจนการส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยให้ผู้รับบริการ ในปี 2563-2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีผู้มารับบริการด้วยการแพทย์แผนไทยและยาสมุนไพร จำนวน 1,400 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.33 และมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาพยาบาล จำนวน 43,099 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.46 ซึ่งยังต่ำกว่าเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข จากเหตุผลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการบริการสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยให้กับประชาชนผู้มารับบริการ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค
- ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน
- ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชน
- ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร ในการดูแลผู้ป่วย/มารดาหลังคลอด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายทุกกลุมได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทำให้เกิดความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง คนในครอบครัวและชุมชน มีการใช้สมุนไพรและการแพทย์แผนไทยเป็นทางเลือกในการรักษา และช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ทั้งได้พัฒนาหน่วยบริการได้มาตราฐานบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนใช้สมุนไพร/แพทย์ทางเลือก ที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค มากว่าร้อยละ 25 |
10.00 | 25.00 |
|
|
2 | ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกสมุนไพร เพื่อใช้ในครัวเรือน |
10.00 | 25.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค (2) ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน (2) ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชน (3) ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร ในการดูแลผู้ป่วย/มารดาหลังคลอด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L339-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......