กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐกฤตา ขวัญแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5211-02-03 เลขที่ข้อตกลง 07/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5211-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,436.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศเรื่องหลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ตามข้อกําหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๔) ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๔ประกอบกับนายกรัฐมนตรี โดยคําแนะนําของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) (ศบค.) นั้น ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในประเทศไทยมีแนวโน้มของสถานการณ์ที่คลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น กําหนดให้โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาสามารถใช้อาคารหรือ สถานที่เพื่อการจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝึกอบรมหรือกิจกรรมใดๆ ที่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจํานวนมากได้ โดยผ่านความเห็นชอบของผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และกระทรวงสาธารณสุขกําหนด โรงเรียนต้องดําเนินการตามรูปแบบ Sandbox : Safety zone in School และได้รับผลการประเมินเป็น สีเขียว ในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) มีมาตรการป้องกันและรองรับการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นั้น โรงเรียนบ้านหาร มีกําหนดการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดยจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ On-site ตั้งแต่วันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาพื้นฐาน ในการประชุมที่ ๑/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๕ นำร่องระยะที่ ๑ เฉพาะระดับชั้นระดับประถมศึกษาปีที่ ๔- ๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ระยะที่ ๒ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป เปิดเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ และระยะที่ ๓ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ เป็นต้นไป เปิดเรียนระดับชั้นอนุบาล ๑-๓ โดยได้กําหนดมาตรการป้องกันและรองรับการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยนักเรียน ครูและบุคลากรของโรงเรียนบ้านหารทุกคน ต้องมีผลการตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยชุด ATK (Antigen Test Kit) อย่างน้อยเดือนละ ๒ ครั้ง ตามมาตรการป้องกันและรองรับการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด การดำเนินงานดังกล่าวต้องอาศัยงบประมาณในการดำเนินการ ซึ่งปัจจุบันงบประมาณที่ทางโรงเรียนได้รับงบประมาณจัดสรรมานั้นก็ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ ดังนั้นโรงเรียนบ้านหาร จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565 เพื่อช่วยในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) เพื่อให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีความเชื่อมั่นและปลอดภัยจาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ในโรงเรียน
  2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองรวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความเชื่อมั่นในมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 142
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง การตรวจคัดกรองหาเชื้อโควิดเบื้องต้นด้วยชุดตรวจ ATK (Antigen Test Kit) ATK และได้รับความรู้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ในโรงเรียน
    2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความเชื่อมั่นในมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ของโรงเรียนอยู่ในระดับมาก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้การตรวจคัดกรองหาเชื้อโควิดด้วยชุด ATK (Antigen Test Kit) จำนวน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ และครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ๒. กิจกรรมการตรวจคัดกรองหาเชื้อโควิดด้วยชุด ATK (Antigen Test Kit)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :
    142.00 142.00

     

    2 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :
    142.00 142.00

     

    3 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองรวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความเชื่อมั่นในมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :
    142.00 142.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 142 142
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 142 142
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ในโรงเรียน (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองรวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความเชื่อมั่นในมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านหาร ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L5211-02-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวณัฐกฤตา ขวัญแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด