กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
อสม. หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3339-02-09 เลขที่ข้อตกลง 0018/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3339-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดีเป็นเป้าหมายสูงสุดของมวลมนุษยชาติ สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการมีสุขภาพที่ดีของมวลมนุษยชาติ คือ ความเจ็บป่วยหรือโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ กลไกการเกิดโรคของมนุษย์ต่างมีปัจจัยขั้นพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน คือ ชีวิตมนุษย์เอง เชื้อโรครวมทั้งพาหะนำโรคหรือสัตว์นำโรคต่างๆด้วย และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ซึ่งสิ่งแวดล้อมมีบทบาทมากที่สุดสำหรับโรคติดเชื้อ เนื่องจากเชื้อโรคและร่างกายมนุษย์ต่างต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมเพื่อการเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ทั้งสองฝ่าย นอกจากนี้สิ่งแวดล้อมยังมีบทบาทสำคัญที่ทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ด้วยโรคติดเชื้อเกิดจากเชื้อโรค และหรือสารที่สร้างจากเชื้อโรคนั้นๆความเจ็บป่วยที่สำคัญของประชาชนในปัจจุบันแบ่งออกเป็นป่วยด้วยโรคติดต่อและป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง ซึ่งโรคติดต่อที่สำคัญเป็นปัญหาในพื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านหารเทาประกอบด้วยโรคอุจจาระร่วงโรคไข้เลือดออก โรคระบบทางเดินหายใจ โรคมือเท้าปาก เป็นต้น และเจ็บป่วยด้วยอุบัติเหตุอุบัติภัย เป็นต้น การเกิดโรคติดต่อมีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบด้วย บุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรคการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือ บุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ จะต้องควบคุมเชื้อโรคไม่ใช้มีการแพร่พันธุ์ที่มากพอจนถึงระดับที่จะก่อโรคได้สัตว์นำโรคหรือพาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยที่สุดและที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อม จะต้องได้รับการจัดการให้ถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสภาพแวดล้อมที่ที่เกี่ยวกับที่อยู่อาศัยจะต้องสะอาดถูกสุขลักษณะซึ่งจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคสัตว์นำโรคหรือพาหนะนำโรค การปรับปรุงควบคุมหรือ รักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนทุกคนในหมู่บ้านจะต้องปฏิบัติเป็นวิถีชีวิตประจำวันในการจัดการขยะชุมชนต้องกลับมาเริ่มต้นที่ระดับครัวเรือน ให้มีการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะ โดยวิธีการลดปริมาณขยะคัดแยกขยะที่ต้นทางและนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลัก 3 Rsคือ ลดการใช้ ( Reduce ) การนำมาใช้ซ้ำ ( Reuse ) การใช้วัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ( Recycle ) รวมทั้งการนำขยะไปใช้ประโยชน์และการจัดการขยะที่ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไป ชมรม อสม. หมู่ที่ 2 ตำบลหารเทาจึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคติดต่อในชุมชน เนื่องจากได้เล็งเห็นว่าควรมีการพัฒนาครัวเรือนในทุกหมู่บ้าน ให้สะอาด ปราศจากโรคภัย ด้วยการสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาดูแลรักษาความสะอาด อาศัยความร่วมมือร่วมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เพื่อให้การดำเนินการขับเคลื่อนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยรณรงค์ปรับปรุงพัฒนารักษาความสะอาดบริเวณบ้านเรือน ชุมชน หมู่บ้านสถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะ และแหล่งน้ำสาธารณะ ให้สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมถึงการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้มีความสวยงาม เพื่อกรตุ้นและจูงใจให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและคงสภาพให้ต่อเนื่องยั่งยืน โดยการใช้กลวิธีสร้างจิตอาสาและพัฒนาเครือข่าย อันจะส่งผลให้ประชาชนมีมีอุบัติการและอัตราการเกิดโรคติดต่อลดลงอย่างเป็นรูปธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรม/ฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อการมีสุขภาพดี
  2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการขยะครัวเรือนและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  3. เพื่อให้สนับสนุนให้เครือข่ายจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม สรุป ประเมินผลการจัดกิจกรรม แลกเปลียนเรียนรู้ และกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน
  2. อบรมฟื้นฟูแกนนำด้านการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
  3. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับสมัครผู้สมัครใจเข้าร่วมการลด การคัดแยก การจัดเก็บ การกำจัด และการใช้ประโยชน์
  4. กิจกรรมตรวจประเมินบ้านจัดการสิ่งแวดล้อมสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการสิ่งแวดล้อมได้ดีเยี่ยม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีแกนนำจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมครอบคลุมพื้นที่/องค์กรเป้าหมาย 2.หมู่บ้าน/ชุมชน สถานที่งานราชการ สถานที่สาธารณะ มีเครือข่ายการพัฒนาการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างครอบคลุมและเป็นรูปธรรม 3.สามารถลดอุบัติการและอัตราการเกิดโรคติดต่อในชุมชนได้อย่างเด่นชัด 4.สุขภาพของประชาชนดีขึ้นมีความรัก สามัคคี และสัมพันธภาพที่ดีในหมู่คณะ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรม/ฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อการมีสุขภาพดี
ตัวชี้วัด : มีแกนนำจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน
15.00 45.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการขยะครัวเรือนและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนมีการคัดแยกและกำจัดขยะได้ถูกต้อง
30.00 50.00

 

3 เพื่อให้สนับสนุนให้เครือข่ายจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการปฏิบัติงานอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง
5.00 12.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรม/ฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อการมีสุขภาพดี (2) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการขยะครัวเรือนและพัฒนาสิ่งแวดล้อม (3) เพื่อให้สนับสนุนให้เครือข่ายจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม สรุป ประเมินผลการจัดกิจกรรม แลกเปลียนเรียนรู้ และกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน (2) อบรมฟื้นฟูแกนนำด้านการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อการมีสุขภาพที่ดี (3) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับสมัครผู้สมัครใจเข้าร่วมการลด การคัดแยก การจัดเก็บ การกำจัด และการใช้ประโยชน์ (4) กิจกรรมตรวจประเมินบ้านจัดการสิ่งแวดล้อมสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการสิ่งแวดล้อมได้ดีเยี่ยม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3339-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อสม. หมู่ที่ 2 บ้านหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด