กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ติดตามและประเมินผล1 กันยายน 2565
1
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยะหริ่ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามและประเมินผลการดำเนินการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ป่วยได้รับการติดตามและประเมินผลเพื่อจะได้ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป

4.เสริมพลังผู้ป่วยให้เป็นบุคคลต้นแบบด้านการดูแลตนเองในโรคเรื้อรัง1 กันยายน 2565
1
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยะหริ่ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สรุปผลการติดตามผู้ป่วย คะแนนที่ผู้ป่วยได้รับ คัดเลือกผุ้ป่วยที่สามารถเป็นต้นแบบ
  2. จัดประชุมมอบประกาศนียบัตรสำหรับบุคคลต้นแบบ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มอบประกาศนียบัตรบุคคลต้นแบบ

2.ติดตามผู้ป่วยหลังเข้าร่วมโปรแกรมแต่ละครั้ง (โปรแกรมให้ความรู้ = 3 ครั้ง)1 เมษายน 2565
1
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยะหริ่ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังเข้าโปรแกรม 4D โดย อสม. พร้อมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามบริบทของผู้ป่วย 1. ร้อยละ 50.53 ของผุ้ป่วยกินยาได้ถูกต้องมากขึ้น     ร้อยละ 66.67 ของผู้ป่วยปรับพฤติกรรมอาหารได้เล็กน้อย 2. สิ่งที่พบ คือ ผู้ป่วยที่มีครอบครัวดูแลดี จะทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพง่ายขึ้น

1. ศึกษาบริบท ประเมินความรู้และพฤติกรรมผู้ป่วย เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนเข้าโปรแกรม 4D literacy9 มีนาคม 2565
9
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยะหริ่ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประขุมชี้แจงโครงการฯ เชื่อมโยงกับการจัดระบบบริการแบบคลินิกเติมยา โรงพยาบาลยะหริ่ง แก่เครือข่าย อสม.ตำบลยามูทั้งหมด พร้อมทั้งเครื่องมือที่ต้องใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
  2. วางแผนติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยแบ่งตามพื้นที่
  3. สรุปผลการติดตาม
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อสม.มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ 4 ด้าน (โรค-ยา-อาหาร-ฟัน )ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ ได้แก่
1. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน โดย อสม.มีทั้งสิ้น 35 คน แบ่งเป็นผุ้ป่วยในคลินิกเติมยา 22 ราย และผู้ป่วยทั่วไป 13 ราย 2. ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยที่ได้รับการติดตาม   2.1 ร้อยละ 47 ของผู้ป่วยมีอายุอยู่ในช่วง 56-65 ปี
        ร้อยละ 42 ของผู้ป่วยมีอายุมากกว่า  65 ปี   2.2 ร้อยละ 52.63 สมรสและอยู่ด้วยกัน         ร้อยละ 47.37 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา   2.3 ร้อยละ 42.11 มีระยะเวลาการเกิดโรค 0-10 ปี 3. ผลการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย   3.1 ร้อยละ 5.56 มีความร่วมมือในการกินยาในระดับน้อย   3.2 ร้อยละ 78.17 มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง