กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ


“ โครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาปียะ มามะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L6958-02-05 เลขที่ข้อตกลง 65-L6958-02-05

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L6958-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กุมภาพันธ์ 2565 - 28 กุมภาพันธ์ 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยังคงแพร่ระบาดในหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยในทุกเขตทั่วราชอาณาจักร เนื่องจากปรากฏกรณีไวรัสโคโรนา 2019 กลายพันธุ์ สายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ที่สามารถแพร่กระจายและมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ แต่ด้วยพบว่าไวรัสโคโรนา 2019 กลายพันธุ์ สายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ไม่ทำให้ผู้ติดเชื้อเกิดอาการป่วยที่รุนแรง และปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ลดลง รัฐบาลจึงได้ประกาศผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ เพื่อรักษาสมดุลด้านความมั่นคงทางสาธารณสุขกับการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ และฟื้นฟูความเป็นอยู่ของประชาชนให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติ นอกจากผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อระบบเศรษฐกิจและระบบสาธารณสุขแล้ว หนึ่งในผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ที่หนักหนาสาหัสมากคือ การเรียนรู้/การศึกษาของเด็กและเยาวชนไทย ในช่วงที่มีการระบาดของโรคเด็กนักเรียนต้องหยุดการเรียนการสอนในโรงเรียนและมีการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย แม้จะมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนให้เอื้อกับสถานการณ์ในปัจจุบันแต่ก็ไม่มีประสิทธิภาพเท่ากับการเรียนในห้องเรียนได้ จากการสำรวจระดับความพร้อมของการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนไทย พบว่า ระดับความพร้อมของการเรียนรู้ถดถอยลงประมาณ 0.32 - 0.39 ปี (ศูนย์นโยบายเพื่ออนาคต, 2565)
ซึ่งในปัจจุบันรัฐบาลได้ผ่อนคลายมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพื่อรักษาสมดุลและฟื้นฟูความเป็นอยู่ของประชาชนให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติ รวมถึงในส่วนของระบบการศึกษามีคำสั่งให้โรงเรียน/สถาบันการศึกษาทุกประเภทสามารถใช้อาคารหรือสถานที่เพื่อการจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝึกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ได้ตามเหมาะสมและความพร้อม โดยรูปแบบของการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวทางการจัดระเบียบและระบบต่าง ๆ ตามมาตรการป้องกันโรคที่ทางราชการกำหนดอย่างเคร่งครัดและรัดกุม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในส่วนของการเปิดเรียนแบบ On-site กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขกำหนดหลักเกณฑ์ให้โรงเรียนเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting (เปิดเทอมปลอดภัยห่างไกลโควิด-19) ดังนั้น เพื่อให้โรงเรียนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะสามารถเปิดการเรียนการสอนแบบ On-site ได้อย่างปลอดภัยห่างไกลโรคตามหลักเกณฑ์ที่ราชการกำหนด
ในการนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะ มีความประสงค์จะส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียน/สถาบันการศึกษาทุกประเภทในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีการประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงและสุ่มตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เชิงรุกเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในกลุ่มบุคลากรและนักเรียนในพื้นที่
จึงเห็นควรให้จัดโครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และอาศัยอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้สร้างแกนนำให้มีความรู้ในการเฝ้าระวัง คัดกรอง และประเมินความเสี่ยงให้ทันต่อสถานการณ์
  2. กิจกรรมที่ 2 คัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) เชิงรุกให้กับบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนได้รับการตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างครอบคลุม 2.มีแกนนำที่มีความรู้ในการเฝ้าระวัง คัดกรอง และประเมินความเสี่ยงให้ทันต่อสถานการณ์ 3.สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพื้นที่โรงเรียนและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 169 169
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134 134
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้สร้างแกนนำให้มีความรู้ในการเฝ้าระวัง คัดกรอง และประเมินความเสี่ยงให้ทันต่อสถานการณ์ (2) กิจกรรมที่ 2 คัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) เชิงรุกให้กับบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนบ้านมะยูง (ครั้งที่ 1) ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L6958-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซาปียะ มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด