ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ กาสง ปี 65
ชื่อโครงการ | ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ กาสง ปี 65 |
รหัสโครงการ | 65-L3065-2-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสามสมัครสาธารณสุข ม.6 ปะกาลือสง ต.ตุยง |
วันที่อนุมัติ | 17 กุมภาพันธ์ 2565 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2565 |
งบประมาณ | 15,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายแวยะมา แวดือราเฮง |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายมะรอกี เวาะเล็ง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.831086,101.189975place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 113 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน) | 1.00 | ||
2 | ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 7.91 | ||
3 | ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง | 16.95 | ||
4 | ร้อยละคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ | 6.25 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีการคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนที่จะเกิดจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญคือความเจ็บป่วยและความบกพร่องในการทำงานของร่างกายในทุกๆด้าน รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจ ซึ่งจะก่อให้เกิดรายจ่ายมหาศาลของประเทศ ดังนั้นเพื่อป้องกันและรับมือแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนในการป้องกันการเจ็บป่วย การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เตรียมความพร้อมของผู้สูงวัยเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีศักยภาพและมีสุขภาวะที่ดี ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม และลดความเสี่ยงพิการ จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต อีกทั้งผู้พิการหรือผู้ด้อยโอกาสในแต่ประเภทก็ไม่ได้แตกต่างจากผู้สูงอายุเพราะผู้สูงอายุหลายคนมีความพิการจากโรคต่างๆ ทางชมรมอสม.หมู่ที่ 6 บ้านปะกาลือสง อยากเป็นส่วนหนึ่งของสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อตรวจคัดกรอง ประเมิน ปัญหาสุขภาพ ภาวะเสี่ยงของผู้สูงอายุและผู้พิการ กลุ่มผู้สูงอายุ และพิการ ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 90 |
138.00 | 125.00 |
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ดูแล มีความความรู้ และทักษะในการสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ พิการ และผู้ดูแล มีความรู้การดูแลสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 90 |
138.00 | 125.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 15,600.00 | 3 | 15,600.00 | 0.00 | |
1 มี.ค. 65 - 31 พ.ค. 65 | รุกชุมชนเฝ้าระวังสุขภาวะ | 0 | 4,500.00 | ✔ | 4,500.00 | 0.00 | |
1 - 30 มิ.ย. 65 | ฟื้นฟู พัฒนาทักษะองค์ความรู้ | 0 | 10,100.00 | ✔ | 10,100.00 | 0.00 | |
1 มิ.ย. 65 - 31 ส.ค. 65 | ฟื้นฟูสุขภาวะผ็สูงอายุ และผู้พิการ | 0 | 1,000.00 | ✔ | 1,000.00 | 0.00 | |
25 - 30 ก.ย. 65 | สรุปผลการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 15,600.00 | 3 | 15,600.00 | 0.00 |
- ประชุมชี้แจงและให้ความรู้ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา/อสม.
- คัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ แจ้งผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยง พร้อมแนะนำ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้พิการ บูรณาการร่วมกับหน่วยงานราชการในพ้นที่
- การติดตามเยี่ยมบ้านฟื้นฟูสุขภาพและเสริมกำลังใจให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการ
- สรุปผลการดำเนินงาน
- ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ดูแล มีความรู้ ทักษะการดูแลสุขภาพ
- ผู้สูงอายุและผู้พิการมีสุขภาพที่ดี สามารถช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันอย่างง่ายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2565 15:56 น.