กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3351-02-15 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3351-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการกำจัดขยะเป็นปัญหาใหญ่ของหลายๆ ประเทศ แม้ในประเทศไทยเองก็กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัดขยะ เช่น หาพื้นที่ว่างเปล่าห่างไกลเป็นที่ทิ้งขยะ หรือแม้แต่การแสวงหาหนทางทางชีวปฎิบัติใดๆ วิธีการต่างๆ ก็ยังไม่สามารถหาจุดสมดุลได้ ปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากขยะทุกวันนี้ คนไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14 ล้านตันต่อปี แต่ความสามารถ ในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึง 70% ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้างและปัญหาทางมลภาวะต่างๆ คือ 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ 2. น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้นเมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำทำให้เกิดมลภาวะมลพิษทางน้ำ 3. แหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 4. เหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน ซึ่งการไม่แยกประเภทของขยะนั้นเป็นสาเหตุซึ่งทำให้เกิดภาวะโลกร้อน คือ เมื่อขยะหลาย ๆ ประเภทถูกทิ้งรวมกันโดยไม่ได้แยกประเภท เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะที่สามารถนำมารีไซเคิล และขยะที่เป็นพิษ สารเคมีต่างๆจากขยะที่เป็นพิษจะไหลลงสู่พื้นดิน ถ้าขยะที่ไม่ได้แยกประเภทถูกนำไปเผารวมกันก็จะก่อให้เกิดแก๊สพิษ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้การที่ไม่แยกประเภทขยะ ทำให้ขยะบางประเภทซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ เช่น ขวดพลาสติก แก้วพลาสติก กระดาษ นั้นยากต่อการแยกประเภท ทำให้เกิดการสิ้นเปลืองทรัพยากรมากขึ้นซึ่งผลจากการไม่แยกประเภทของขยะนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว จึงจัดทำโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัยขึ้น เพื่อเป็นการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะ การทิ้ง การคัดแยกขยะและการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี รวมทั้งขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง จากการที่ประชาชนนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งผลให้มีการจัดการขยะโดยชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน
  2. เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
  3. เพื่อลดขยะในครัวเรือนลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  2. การแยกขยะและการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนและการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะในชุมชน
  3. เรียนรู้ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,629
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ทุกครัวเรือนเป้าหมายมีการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และนำขยะไปใช้ประโยชน์
  • ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโรคอุจจาระร่วง ของประชาชนในพื้นที่
  • บ้านเรือน หมูบ้าน ชุมชน มีสภาพเอื้อต่อการป้องกันโรค
  • มีผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนจากขยะ 2 ชิ้นงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ระบาด จึงไม่สามารถดำเนินการกิจกรรมนี้ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ระบาด จึงไม่สามารถดำเนินการกิจกรรมนี้ได้

 

0 0

2. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์

วันที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ เป็นการสร้างองค์ความรู้และความตระหนักรวมทั้งจิตสำนึกในการจัดการขยะ ซึ่งขยะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ เป้นขยะที่มาจากธรรมชาติหรือสิ่งมีชีวิต สามารถย่อยสลายได้ง่ายโดยกระบวนการทางธรรมชาติ เช่น เศษอาหาร ผักผลไม้ ซากพืช ซากสัตวื ใบไม้ เป็นต้น คิดเป็น ร้อยละ 46  2. ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายได้ยาก ไม่คุ้มค่าในการนำไปใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เปลือกลุกอม ถุงขนม ถุงพลาสติกปนเปื้อนอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอล์ยเปื้อนอาหาร เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว ผ่านการอบรมการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ เป็นการสร้างองค์ความรู้และความตระหนักรวมทั้งจิตสำนึกในการจัดการขยะ จำนวน 120 คน

 

0 0

3. การแยกขยะและการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนและการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะในชุมชน

วันที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมสอนวิธีการคัดแยกขยะและการจัดการขยะอนทรีย์ใรครัวเรือนและการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีการแยกขยะและการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนและการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะในชุมชน จำนวน 3 ชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมการแยกขยะและการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนและการทำปุ๋มหมักอินทรีย์จากขยะในชุมชน เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกครัวเรือนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและและสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน
0.00 3.00

 

2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : สภาพแวดล้อมของหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกหมู่บ้าน
0.00 3.00

 

3 เพื่อลดขยะในครัวเรือนลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนมีการแยกขยะและจัดการขยะในครัวเรือน ขยะลดลง ร้อยละ 30
120.00 189.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2629
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,629
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน (2) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (3) เพื่อลดขยะในครัวเรือนลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (2) การแยกขยะและการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนและการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะในชุมชน (3) เรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3351-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด