กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายนิยม ปังธิกุล




ชื่อโครงการ ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์)

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5215-2-6.2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2560 ถึง 20 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์)



บทคัดย่อ

โครงการ " ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-2-6.2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2560 - 20 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยุคไซเบอร์เป็นยุคที่สื่อเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการช่วยสร้างความสะดวกสบายให้กับชีวิตเป็นยุคที่อุดมไปด้วยสื่อสารสนเทศเช่นโทรทัศน์อินเทอร์เน็ตโทรศัพท์มือถือ CD VDO DVD เกมคอมพิวเตอร์ facebook line ที่ขยับเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันแต่ทุกวันนี้มีหลักฐานที่ชี้ให้เห็นประจักษ์ถึงผลกระทบต่อสังคมยุคอุดมด้วยสารสนเทศโดยเฉพาะผลที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน  ปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งในด้านการค้นคว้าข้อมูลการติดต่อสื่อสารทางอีเมล์และกิจกรรมบันเทิงเพื่อประโยชน์ให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารรวดเร็วทันสมัยยิ่งขึ้นทำให้พบสัดส่วนของการใช้อินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะกลุ่มวัยอายุระหว่าง 15-24 ปีมีสัดส่วนการใช้อินเตอร์เน็ตจากร้อยละ 47.3 ในปีพ.ศ 2552 เป็นร้อยละ 58.4 ในปีพ.ศ 2556 และจากการสำรวจของสำนักส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ของเยาวชนร่วมกับสถาบันวิจัยรามากิตติ พบเด็กไทยร้อยละ 76 ใช้เวลากับเครือข่ายสังคมออนไลน์เช่น facebook LINE WhatsApp บ่อยเป็นประจำร้อยละ 51 เช็คข้อความทางโทรศัพท์มือถือหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ทันทีที่ตื่นนอนและอีกร้อยละ 40 ด้วยโทรศัพท์หรือเล่นแชทในเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นสิ่งสุดท้ายก่อนนอน  ผลกระทบที่เป็นปัญหาจากการใช้สื่อเทคโนโลยีของเยาวชนในด้านสุขภาพจะทำให้เกิดอาการปวดหลังรับประทานอาหารไม่ตรงเวลาจึงทำให้เป็นโรคกระเพาะพักผ่อนไม่เพียงพอทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงด้านพฤติกรรมเด็กที่ชอบใช้ สื่อเทคโนโลยี นักบุณยานนท์ก้าวร้าวมากขึ้นโดยสิ่งที่พ่อแม่ต้องเป็นห่วงมากที่สุดคือ เรื่องระเบียบวินัยความรับผิดชอบการไม่รักษาคำพูดความก้าวร้าวไม่เชื่อฟัง โต้เถียงกับพวกพ่อแม่โกหกขโมยเงิน คนแปลกหน้าที่รู้จักจากการเล่นเกม หนีออกจากบ้าน ด้านการเรียนทำให้ผลการเรียนแย่ลงจากการศึกษาพบว่าเด็กพิเศษเทคโนโลยีและชอบเล่นเกมลื่นไม่สนใจการเรียนหนังสือและทำการบ้านนอนหลับในห้องเรียนซึ่งเป็นผลจากการอดหลับอดนอนนั่งเล่นทั้งคืนบางรายมีอาการเหม่อลอยในห้องเรียนมีแต่พะวงถึงแต่เรื่องเทคโนโลยีจนถึงขั้นหนีเรียนไปเล่น ด้านอารมณ์พบว่าเด็ก เทคโนโลยี แท็กซี่เทคโนโลยีนะคะอารมณ์ไม่คงที่ถ้ามีใครมาขัดใจเสื้อรุ่นสวยๆ และเด็กที่เรื่องสื่อเทคโนโลยีประเภทความรุนแรงจะมีทัศนคติ การใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหาอย่างแท้จริง เรื่องในครอบครัวที่มีเด็กที่เล่นสื่อเทคโนโลยีมากจนขาดความควบคุมตนเองมาตรฐานเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและสมาชิกในครอบครัวเกิดความไม่เข้าใจและความขัดแย้งในครอบครัวเนื่องจากพ่อแม่ไม่เข้าใจพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารเทคโนโลยีของเด็กทำให้เกิดปัญหาฝันทะเลาะกันเรื่องจับเวลาในการเทคโนโลยีของเด็กนอกจากนี้เด็กที่สื่อเทคโนโลยีส่วนใหญ่มักจะให้คุยหรือทำกิจกรรมอื่นๆร่วมกับสมาชิกครอบครัวน้อย รวมถึงปฏิเสธที่จะร่วมกิจกรรมกับครอบครัว  ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลเขาช้างร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนตำบลเกาะช้างได้เล็งเห็นถึงประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้นให้เห็นว่าการพัฒนาทักษะเยาวชนในยุคไซเบอร์ในเรื่องการแบ่งเวลา การจัดการกับอารมณ์การจัดการการความคิดวิเคราะห์แยกแยะถูกผิดความรู้จักไว้วางใจบุคคลในครอบครัวและการรู้จักใส่ใจความรู้สึกของผู้อื่นโดยการให้พ่อแม่ผู้ปกครองและเด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นการป้องกันการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม สร้างทัศนคติและมุมมองใหม่ในการเริ่มต้นการปรับเปลี่ยนตัวเองและพฤติกรรมต่างๆที่ไม่เหมาะสมรวมถึงช่วยเสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวจะเป็นคำตอบที่ตอบโจทย์การป้องกันปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นได้ดีที่สุดจึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการเพื่อธุรกิจการเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามของชาติวัยรุ่นกิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในทักษะการจัดแบ่งเวลาการจัดการกับอารมณ์ การจัดการความคิดวิเคราะห์แยกแยะถูกผิด การรู้จักไว้วางใจบุคคลในครอบครัวและการรู้จักใส่ใจความรู้สึกคนอื่นที่ส่งผลต่อสัมพันธภาพในครอบครัว 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีแนวทางในการสร้างเสริมสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์

วันที่ 20 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ จัดทำบันทึกสัญญาข้อตกลงในการใช้สื่อเทคโนโลยี รายบุคคล ลงพื้นที่ติดตามและประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการนี้ดำเนินการเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ 2560 ณห้องประชุมกองพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา โดยในช่วงเช้าจัดให้มีการพัฒนาศักยภาพในครอบครัวแบ่งเป็น 2 กิจกรรมคือการพัฒนาทักษะเยาวชนและการถ่ายทอดประสบการณ์ของครอบครัวในการเลี้ยงดูบุตรหลานเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าฐานกิจกรรมในช่วงบ่ายสำหรับในช่วงบ่ายจัดให้มี กิจกรรมเสริมสร้างสัมพันธภาพครอบครัว walk rally จำนวน 5 ฐานฐานที่ 1 ความรับผิดชอบทางวินัยทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวทางในการกำหนดความรับผิดชอบและวินัยภายในครอบครัวอย่างมั่นคงเสมอต้นเสมอปลายและปฏิบัติในทิศทางเดียวกันการที่ 2 การจัดการอารมณ์เป็นฐานที่ให้สมาชิกได้เข้าใจถึงอารมณ์ตนเองสาเหตุตัวกระตุ้นและการแสดงออกรวมทั้งได้เรียนรู้การฝึกฝนตนเองที่จะจัดอารมณ์อย่างเหมาะ สมเพื่อช่วยให้เกิดผลดีต่อตนเองและคนรอบข้างโดยเฉพาะส่งผลต่อสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวฐานที่ 3 ไม่ด่วนสรุปเป็นสารที่ให้สมาชิกได้ตระหนักถึงความสำคัญของการไม่ด่วนสรุปไม่ด่วนตัดสินใจโดยการพูดคุยสอบถามทำความเข้าใจถึงความรู้สึกหรือความต้องการที่แท้จริงในการกระทำต่างๆเข้าใจสถานการณ์ความเป็นจริงได้ดีและนำมาซึ่งสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกันในครอบครัว ฐานที่ 4 ความไว้วางใจเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เห็นความสำคัญของความไว้วางใจต่อกันในครอบครัวพ่อแม่ผู้ปกครองต้องไว้วางใจในการตัดสินใจของลูกและส่งเสริมให้ลูกเป็นตัวของตัวเองอย่างเหมาะสมขณะที่วัยรุ่นเองก็จำเป็นต้องรักษาความไว้วางใจที่พ่อแม่มีให้ โดยเรียนรู้ในการรับผิดชอบตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอฐานที่ 5 ใจเขาใจเราเพื่อให้สมาชิกได้เรียนรู้การใส่ใจความรู้สึกของผู้อื่นเอาใจเขามาใส่ใจเราซึ่งจะส่งผลต่อรูปแบบการแสดงออกทางคำพูดและการกระทำซึ่งทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 132
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5215-2-6.2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิยม ปังธิกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด