กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอาหะมะ สาและ




ชื่อโครงการ ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2476-2-29 เลขที่ข้อตกลง 025/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2476-2-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศจีนได้ยืนยันเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2562 เกิดการระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในเมืองอู่ฮั่น ในเวลาต่อมาประเทศจีนและองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ระบุชื่อเรียกของไวรัสชนิดนี้ว่าคือ "ไวรัสโคโรนา" หรือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไวรัสโคโรนาเคยเกิดการระบาดในมนุษย์แล้ว มีทั้งหมด 6 สายพันธุ์ สำหรับไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ที่กำลังระบาดเป็นสายพันธุ์ที่ 7 คนไทยรู้จักไวรัสในตระกูลนี้มาแล้วจากโรค "ซาร์ส" หรือโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS; Severe Acute Respiratory Syndrome) ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อไวรัสโคโรนาเช่นกัน และเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 ได้พบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในไทยเป็นรายแรก เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เดินทางมาจากเมือง อู่ฮั่น จากสถานการณ์การระบาดของโรคทั่วโลกพบว่ามีผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 109,155,699 คน เสียชีวิตแล้ว จำนวน2,407,869 คน สำหรับในประเทศไทยพบว่ามีผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 24,786 คน เสียชีวิตแล้ว จำนวน 82 คน (ข้อมูล ณ วันที่16 กุมภาพันธ์ 2564) การระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ สามารถแพร่จากคนสู่คนผ่านทางละอองน้ำมูก น้ำลายจากจมูกหรือปากซึ่งออกมาเมื่อผู้ป่วย ไอ จามหรือพูด ละอองเหล่านี้ค่อนข้างหนัก ไปไม่ได้ไกล และจะตกลงสู่พื้นอย่างรวดเร็ว คนรับเชื้อโรคไวรัสโคโรนา ได้จากการหายใจเอาละอองเข้าไปจากผู้ป่วย หรือคนที่เป็นพาหะ ดังนั้น คนที่เดินทางจากพื้นที่ที่มีคนเป็นโรคหรือพาหะ พื้นที่เสี่ยงของโรค เช่น ปัจจุบันจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดปทุมธานี และอีกหลายจังหวัดที่มีผู้ป่วยที่ไม่ได้กล่าวถึง ตลอดจนคนเดินทางที่มาจากต่างประเทศที่เสี่ยงโรคนี้ เดินทางช่องธรรมชาติ แล้วกลับมาพักอาศัยพื้นที่บ้านเกิด ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เสี่ยงต่อการติดเชื่อและเกิดการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ และส่งผลเสียต่อสุขภาพอาจทำให้เสียชีวิตได้ และทำให้ปิดพื้นที่ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจเสียหาย ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนลำบาก การป้องกันโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ จำเป็นต้องให้ประชาชนมีความตระหนักในการรักษาสุขอนามัยของมือและมารยาทในการไอ หรือจามเป็นสิ่งสำคัญที่ควรทำตลอดเวลา และเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันตัวเองและคนอื่น เมื่อเป็นไปได้ รักษาระยะอย่างน้อย 1 เมตรจากผู้อื่น โดยเฉพาะเมื่อยืนใกล้คนที่กำลังไอหรือจาม เนื่องจากผู้ติดเชื้อบางรายอาจยังไม่แสดงอาการ การเว้นระยะห่างจากทุกคนก็ยังเป็นความคิดที่ดีหากคุณอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค จากข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าประชาชนในพื้นที่ได้เดินทางกลับภูมิลำเนาช่วงที่มีการระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งอาจนำเชื้อมาแพร่ระบาดในพื้นที่พักอาศัยตามภูมิลำเนาในพื้นที่รับผิดชอบของมัสยิดได้ จึงได้จัดโครงการนี้เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ที่กำลังระบาดจากพื้นที่ต่างๆเพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากโรคนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 2.สาธิตการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับความรู้เรื่องไวรัสโคโรนา รู้วิธีการป้องกันโรค และการดูแลตนเอง เพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 100
30.00 30.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน 30 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ให้ความรู้และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เขตรับผิดชอบของมัสยิดอัลอิสลามียะห์ (กาเต๊าะ) หมู่ที่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2476-2-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาหะมะ สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด