กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพีรฉัตร แสงฉาย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8405-2-6 เลขที่ข้อตกลง 12/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L8405-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนานักเรียนตามแนวทางของโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียน ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ร่วมดำเนินการกับฝ่ายการศึกษามาตั้งแต่ปี 2541 ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่น่าพอใจ โดยมีโรงเรียนที่สามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นทุกปี ประกอบด้วยองค์ประกอบ 10 ประการ ที่เน้นกระบวนผ่านกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อเป็นแนวทางให้กับโรงเรียนในการปฏิบัติตาม ทั้งนี้ที่ผ่านมายังมิได้ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ด้านสุขภาพมากนัก
ดังนั้น เพื่อให้โรงเรียนวัดพรุเตาะ สามารถพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนในด้านสุขภาพ อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาต่อไป โรงเรียนวัดพรุเตาะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งมีความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และมีศักยภาพในตนเอง และสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานอย่างได้ผล ผ่านกิจกรรมที่เน้นการสร้างเครือข่ายชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน "อย.น้อย" เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนให้มีการรับรู้ถึงสิทธิของผู้บริโภคและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม และเกิดการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชน มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน ผ่านรูปแบบการดำเนินกิจกรรมเป็นภาคึเครือข่ายในระดับสถานศึกษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคและตระหนักถึงเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
  2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
  3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี
  4. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนอย่างง่ายได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อย.น้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและแกนนำ อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยมากขึ้น
  2. นักเรียนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
  3. สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสิ่งปนเปื้อนด้วยชุดตรวจอย่างง่ายได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินการตามโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ ผลปรากฏว่า โรงเรียนวัดพรุเตาะได้ดำเนินการพัฒนานักเรียนตามแนวทางของโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียน ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาในชุมชน ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมดำเนินการกับฝ่ายการศึกษามาตั้งแต่ปี 2541 ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่น่าพอใจ โรงเรียนวัดพรุเตาะจึงเล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งมีความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และมีศักยภาพในตนเอง และสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานอย่างได้ผล ผ่านกิจกรรมที่เน้นการสร้างเครือข่ายชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน "อย.น้อย" เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนให้มีการรับรู้ถึงสิทธิของผู้บริโภคและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ผลปรากฏว่า
1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคและตระหนักถึงเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
2. ร้อยละ 95 ของจำนวนครั้งที่สมาชิกชมรม อย.น้อย ให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนผ่านช่องทางเสียงตามสายหรือการประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
3. จำนวนนักเรียนขาดเรียนเนื่องจากปัญหาสุขภาพลดลง
4. สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถสุ่มตรวจวิเคราะห์สารเจือปนในอาหารภายในโรงเรียนได้ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคและตระหนักถึงเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคและตระหนักถึงเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
50.00 90.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนครั้งที่สมาชิกชมรม อย.น้อย ให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนผ่านช่องทางเสียงตามสายหรือการประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
50.00 70.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถิติการขาดเรียนของนักเรียนเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพลดลง
50.00 10.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนอย่างง่ายได้
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถสุ่มตรวจวิเคราะห์สารเจือปนในอาหารภายในโรงเรียนได้ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคและตระหนักถึงเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน (2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี (4) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนอย่างง่ายได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อย.น้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยในโรงเรียนวัดพรุเตาะ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8405-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพีรฉัตร แสงฉาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด