กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
การส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง9 มิถุนายน 2565
9
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลปาเสมัส
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธี โดยใช้เม็ดสีย้อมฟัน
-  ค่าแปรงสีฟันสำหรับผู้ป่วยเรื้อรังในการฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน จำนวน 80 ด้ามๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
-  ค่ายาสีฟันสำหรับผู้ป่วยเรื้อรังในการฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน ขนาด 40 กรัมจำนวน 12 กล่องๆละ 35 บาท เป็นเงิน  420 บาท -  ค่าน้ำยาบ้วนปากสำหรับผู้ป่วยเรื้อรังขนาด ๔๕ มิลลิลิตร จำนวน 80 ขวดๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท -  ค่าไหมขัดฟันแบบสอดใต้เหงือก จำนวน 80 อันๆละ 60 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท -  ค่าเม็ดสีย้อมฟัน จำนวน 2 กระปุกๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท -  ค่าแก้วพลาสติกใสลอนสำหรับแปรงฟัน จำนวน 80 ใบ จำนวน 2 แพ็คๆละ 50 บาท เป็นเงิน  100 บาท -  ค่าโมเดล Dental Pulp Disease Clinical จำนวน 1 ชุดๆละ 3,000 บาท
เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 15,320 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อัตราการเกิดโรคฟันผุของผู้ป่วยเรื้อรังลดลง
  2. ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ประชาชนในชุมชนได้
  3. ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถตรวจฟันด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับบริการทางทันตกรรมอย่างทั่วถึง
  4. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน
กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธี โดยใช้เม็ดสีย้อมฟัน9 มิถุนายน 2565
9
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลปาเสมัส
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นเตรียมการ 1.1 ประสานงานและจัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
    1.2 ศึกษาสำรวจข้อมูลพื้นฐานของปัญหาด้านทันตสุขภาพ 1.3 ระบุปัญหาทันตสุขภาพ - วิเคราะห์ข้อมูล - นำเสนอข้อมูลและระบุปัญหาร่วมกันเสนอความคิดเห็น 1.4 จัดลำดับความสำคัญของปัญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 1.5 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูล และเอกสารในการดำเนินกิจกรรม 1.6 แจ้งกลุ่มเป้าหมายให้ทราบถึงแนวทางในการดำเนินโครงการ 1.7 เตรียมสถานที่ในการจัดกิจกรร2 .ขั้นดำเนินการ 2.1 กิจกรรมที่ ๑ การส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้ 2.1.1 ประเมินความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคในช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง ก่อนทำกิจกรรม โดยการทำแบบทดสอบก่อนการให้ความรู้เรื่อง การป้องกันโรคในช่องปากของกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง 2.1.2 ให้ความรู้เรื่อง ปัญหาสุขภาพช่องปากในปัจจุบันของกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง      การเลือกอาหารสำหรับผู้ป่วยเรื้อรัง สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุ สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มาจากการติดเชื้อในช่องปาก ระยะของการเกิดโรคฟันผุ ภาวะปากแห้ง น้ำลายไหลน้อย โรคมะเร็งในช่องปาก โรคเหงือกอักเสบและปริทันต์อักเสบในผู้ป่วยเรื้อรัง ฟันโยกและรากฟันผุ การตรวจฟันด้วยตนเองและการดูแลสุขภาพช่องปาก 2.1.3 เปิดวีดีโอเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ที่ส่งผลต่อสุขภาพช่องปาก 2.1.4 พัฒนาทักษะการตรวจฟันดังนี้ 2.1.4.1 ให้ความรู้เรื่องของการตรวจฟัน พร้อมทั้งสาธิตการตรวจฟัน 2.1.4.2 ให้ความรู้เรื่อง การบริหารใบหน้าและลิ้นเพื่อเพิ่มน้ำลายใน  ช่องปากและเพื่อป้องกันฟันผุ 2.1.4.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติการบริหารใบหน้าและลิ้นที่ถูกวิธี 2.1.5 ประเมินความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคในช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง หลังทำกิจกรรม โดยการทำแบบทดสอบหลังการให้ความรู้เรื่อง การป้องกันโรคในช่องปากของกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อัตราการเกิดโรคฟันผุของผู้ป่วยเรื้อรังลดลง
  2. ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ประชาชนในชุมชนได้
  3. ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถตรวจฟันด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับบริการทางทันตกรรมอย่างทั่วถึง
  4. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน