กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แกนนำต่อต้านและบำบัดยาเสพติดในชุมชน
รหัสโครงการ 65-L5211-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลบางกล่ำ
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 33,480.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปรียาภรณ์ วรรณชาติ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.075,100.45place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2565 30 ก.ย. 2565 33,480.00
รวมงบประมาณ 33,480.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 54 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดอำเภอบางกล่ำ โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTx)

 

0.00
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด และนำความรู้ไปถ่ายทอดผู้อื่นได้

 

0.00
3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้นและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุม ปรึกษา วางแผน จัดทำขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดวันเวลา สถานที่จัดกิจกรรมให้ความรู้
  4. กำหนดตารางให้ความรู้ และติดต่อประสานวิทยากร
  5. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และส่งเสริมกิจกรรมทางกายคลายเครียด
  6. ร่วมกันกำหนดมาตรการ แนวทางการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดและระบบการติดตาม
  7. กิจกรรมร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น กิจกรรมออกแบบระบบการติดตามผู้ป่วยยาเสพติดในชุมชน, เดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก, ส่งเสริมกิจกรรมทางกายสร้างสัมพันธภาพด้วยกีฬามหาสนุก
  8. สรุปแบบประเมินผลกิจกรรมโดยนำผลการประเมินไปเทียบกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยจัดเวทีถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  9. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน
  2. มีประชาชนและแกนนำสุขภาพต้นแบบในชุมชนด้านยาเสพติด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2565 12:26 น.