กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ


“ โครงการร้านชำปลอดภัย ”

ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางมัสลิน พลรัตน์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกม.18

ชื่อโครงการ โครงการร้านชำปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65 – L4128 – 1 – 02 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านชำปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านชำปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านชำปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65 – L4128 – 1 – 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ไม่ว่าจะเป็นแผงลอย หรือร้านขายของชำในหมู่บ้าน ถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภค และบริโภคจากร้านขายของในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็น อาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้น และยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่น ยาผสมสารสเตียร์รอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ การให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง หรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้ประกอบการ ผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้อง ก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง
ตำบลตาเนาะแมเราะ เป็นชุมชนที่เป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจ มีสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย ร้านขายของชำในหมู่บ้าน ประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่าง เข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆเพื่อนำมาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยาหรือของใช้ต่างๆ เครื่องอุปโภคบริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย
ในการนี้ งานควบคุมโรคติดต่อ และงานสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน กม.18 ได้เล็งเห็นว่าการให้องค์ความรู้ในการป้องกันโรค การดูแลปฏิบัติตนเมื่อติดเชื้อผู้ประกอบการ ประโยชน์ของการสร้างภูมิคุ้มกันโรค การตรวจหาเชื้อด้วยตนเองเบื้องต้น (ATK) จะทำให้ผู้ประกอบการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติตนมากขึ้น และส่งผลให้ลดการแพร่กระจายของผู้ติดเชื้อโรค ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนเมื่อติดเชื้อ และลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 จะช่วยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้ จึงได้จัดทำโครงการร้านชำปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้ และมีทักษะในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่มีการสำรวจเฝ้าระวังเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภคส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องส่งผลให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัยขึ้น จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค การแพ้และอันตรายต่อสุขภาพของคนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
  2. 2 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้
  3. 3 เพื่อให้มีเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ๆสามารถให้ความรู้ และให้คําแนะนําในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน และผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม
  2. จัดซื้อวัสดุโครงการ
  3. ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ =4,800 บาท
  4. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ ละ 90 บาท= 7,200 บาท
  5. ค่าสมนาคุณวิทยากรภายในหน่วยงาน วันละ 2 คน คนละ 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท = 1,800 บาท
  6. ค่าชุดตรวจ ATK จำนวน 78 ชุด ชุดละ 175 บาท = 13,650 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสําอาง ที่มีคุณภาพ จําหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้   2.ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิด และสามารถเลือกจําหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้   3.เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค สามารถให้ความรู้ และคําแนะนําในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน
    และผู้ประกอบการได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยใช้งบประมาณจำนวน 27,450 บาท ดังนี้
1.ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม จำนวน 80 คน ๆ ละ 30 บาท จำนวน 2 มิ้อ เป็นเงิน 4,800 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน ๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
3.ค่าสมนาคุณวิทยากรภายในหน่วยงานวันละ 2 คน ๆ ละ 3 ชม. ๆ ละ 300 เป็นเงิน 1,800 บาท
4.ค่าชุดตรวจ ATK จำนวน 78 ชุด ๆ ละ 175 บาท เป็นเงิน 13,650 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสําอาง ที่มีคุณภาพ จําหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
0.00

 

2 2 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสําอาง ที่มีคุณภาพ จําหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
0.00

 

3 3 เพื่อให้มีเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ๆสามารถให้ความรู้ และให้คําแนะนําในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน และผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยได้
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิด และสามารถเลือกจําหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้ (2) 2 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้ (3) 3 เพื่อให้มีเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ๆสามารถให้ความรู้ และให้คําแนะนําในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน และผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม (2) จัดซื้อวัสดุโครงการ (3) ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม  จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท  จำนวน 2 มื้อ =4,800 บาท (4) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ ละ  90 บาท= 7,200 บาท (5) ค่าสมนาคุณวิทยากรภายในหน่วยงาน วันละ 2 คน คนละ 3 ชั่วโมงๆละ 300  บาท = 1,800 บาท (6) ค่าชุดตรวจ ATK จำนวน 78 ชุด ชุดละ 175 บาท =  13,650 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านชำปลอดภัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65 – L4128 – 1 – 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมัสลิน พลรัตน์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกม.18 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด