โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน ”
จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายธีรเทพ จิตหลัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน
ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-10 เลขที่ข้อตกลง 30/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5307-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมานเล็งเห็นถึงสถานการณ์ความรุนแรงของบุหรี่และยาเสพติดในสังคมปัจจุบัน จึงขอเสนอโครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ต.บ้านควนเพื่อสร้างแกนนำเยาวชนนักรณรงค์ ลด ละ เลิกบุหรี่ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์และพิษภัยจากการใช้บุหรี่และยาเสพติด ตลอดจนสร้างแกนนำนักรณรงค์ที่มีทักษะการรณรงค์ให้ผู้คนในพื้นที่ลด ละ เลิกบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เพื่อให้ตำบลบ้านควนได้เป็นพื้นที่ตัวอย่างในการสร้างแกนนำเยาวชนนักรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่และยาเสพติดต่อไป
สถานการณ์การสูบหรี่ในจังหวัดสตูล จากสถานการณ์การสูบบุหรี่ในปัจจุบันของจังหวัดสตูลอยู่ในลำดับต้นของระดับประเทศ และครันบุหรี่มือสองจังหวัดสตูลอยู่ในอันดับต้นของประเทศเป็นอันดับ ๑ ของ ๗ จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง จากการสำรวจเก็บมูลของศูนย์วิจัยปัญหายาสูบ(ศจย)
สถานการณ์การใช้สารเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนตำบลบ้านควน จากข้อมูลจาก อสม. พบว่า อัตราส่วนของผู้ใช้สารเสพติดต่อประชากรเด็กและเยาวชนทั้งหมดในพื้นที่คือ 20~30% โดยประมาณ ซึ่งถือว่าเป็นตัวเล็กที่สูงอย่างมาก จากสถานการณ์การสูบบุหรี่และการใช้สารเสพติดในเด็กและเยาวชนข้างต้นจึงได้มีการวิเคราะห์ปัญหาสำคัญของการสูบบุหรี่และใช้สารเสพติดในพื้นที่ตำบลบ้านควนที่เป็นปัญหาหลักด้านสุขภาพต่อตนเองและผู้อื่นโดยตรง ผลกระทบได้รับการสูบบุหรี่และใช้ยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนดังนี้ ด้านสุขภาพ >เป็นมะเร็งปอด > ความผิดปกติของทารกพัฒนาการของเด็ก>COPD >เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ >ระบบหายใจ >ทำลายประสาทสมอง >จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ >เสียบุคลิกภาพ >ขาดสติสัมปชัญญะ >ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย >พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆ ให้เสื่อมลง >มีโรคแทรกได้ง่าย >ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง
ด้านจิตใจ >ขัดใจ/อึดอัด > เกิดสภาวะซึมเศร้า
ด้านเศรษฐ์กิจ >รายจ่ายเพิ่มขึ้น >รายได้ไม่เพียงพอ
ด้านครอบครัว >ปัญหาครอบครัว >เกิดพฤติกรรมเลียนแบบ >ทำลายบรรยกาศภายในบ้าน >ขาดความรักความอบอุ่นจากครอบครัว >ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง> เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว >ขาดหลักประกันของครอบครัว >ทำงานไม่ได้ >ไม่เป็นที่วางใจของคนทั่วไป >นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง
ด้านสังคม> ความขัดแย้งระหว่างบุคคล > เข้าถึงการซื่อได้ง่าย> สังคมไม่ยอมรับ> เป็นวัฒนธรรมทางสังคมเป็นภัยต่อสังคม >มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง
ดังนั้นจากปัญหาทีกล่าวมาข้างต้นในแต่ละประเด็น จึงต้องมีการป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของคนในชุมชน โดยการเปิดพื้นที่รณรงค์ให้ความรู้เท่าทัน บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสียงต่างอื่นๆ โดยใช้กลุ่มเด็กและเยาวชนซึ่งถือเป็นพลังบริสุทธิ์ในการขับเคลื่อนกลไกการเชิญชวน ลด ละ เลิกบุหรี่และสิ่งเสพติดต่างๆ โดยการสร้างแกนนำแต่ละหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 5 คน เพื่อเป็นแกนนำหลักในการรณรงค์ภายในหมู่บ้านของตนเอง เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะที่ดีสำหรับคนในชุมชนทุกเพศ ทุกวัยต่อไป
การบริหารจัดการโครงการที่ผ่านมามีภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมสร้างแกนนำเยาวชนนักรณรงค์ อาทิเช่น พมจ.สตูล สสจ.สตูล อบต.บ้านควน มัสยิดสสอ.เมืองสตูล รวมทั้งการทำงานร่วมกับเครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนล่าง จะสามารถช่วยสนับสนุนและผลักดันให้โครงการสามารถดำเนินการตามเป้าหมายดังที่ตั้งไว้ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน
- เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
- เดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด พร้อมมอบป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และ ร้านนี้ไม่จำหน่ายสุรา
- กิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ ณ ศูนย์การเรียนรู้โคกหนองนาและแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านทุ่งวิมาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
35
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.แกนำ เยาวชน มีความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มขึ้น
2.เกิดแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
วันที่ 20 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า แกนนำมีความเข้าใจเกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี ยาเสพติดและปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เป็นอย่างมาก ทว่าปัญหาและอุปสรรคที่ไม่สามารถทำให้โครงการดำเนินการรตามแผนที่วางไว้ก่อนหน้าได้ คือปัญหาการเบิกจ่ายภายในองค์กร เนื่องด้วยกลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมาน ได้รับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงาน คณะกรรมการบริหารกลุ่มชุดก่อนได้ก้าวเข้าสู่วัยทำงาน มีภาระหน้าที่มากขึ้น เมื่อต้องทำเรื่องเบิกจ่ายเงินของกลุ่มฯ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน
ตัวชี้วัด : ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน (ร้อยละ)
50.00
80.00
0.00
2
เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ตัวชี้วัด : จำนวนแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
0.00
35.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
35
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน (2) เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน (2) เดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด พร้อมมอบป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และ ร้านนี้ไม่จำหน่ายสุรา (3) กิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ ณ ศูนย์การเรียนรู้โคกหนองนาและแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านทุ่งวิมาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธีรเทพ จิตหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน ”
จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายธีรเทพ จิตหลัง
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-10 เลขที่ข้อตกลง 30/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5307-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมานเล็งเห็นถึงสถานการณ์ความรุนแรงของบุหรี่และยาเสพติดในสังคมปัจจุบัน จึงขอเสนอโครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ต.บ้านควนเพื่อสร้างแกนนำเยาวชนนักรณรงค์ ลด ละ เลิกบุหรี่ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์และพิษภัยจากการใช้บุหรี่และยาเสพติด ตลอดจนสร้างแกนนำนักรณรงค์ที่มีทักษะการรณรงค์ให้ผู้คนในพื้นที่ลด ละ เลิกบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เพื่อให้ตำบลบ้านควนได้เป็นพื้นที่ตัวอย่างในการสร้างแกนนำเยาวชนนักรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่และยาเสพติดต่อไป
สถานการณ์การสูบหรี่ในจังหวัดสตูล จากสถานการณ์การสูบบุหรี่ในปัจจุบันของจังหวัดสตูลอยู่ในลำดับต้นของระดับประเทศ และครันบุหรี่มือสองจังหวัดสตูลอยู่ในอันดับต้นของประเทศเป็นอันดับ ๑ ของ ๗ จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง จากการสำรวจเก็บมูลของศูนย์วิจัยปัญหายาสูบ(ศจย)
สถานการณ์การใช้สารเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนตำบลบ้านควน จากข้อมูลจาก อสม. พบว่า อัตราส่วนของผู้ใช้สารเสพติดต่อประชากรเด็กและเยาวชนทั้งหมดในพื้นที่คือ 20~30% โดยประมาณ ซึ่งถือว่าเป็นตัวเล็กที่สูงอย่างมาก จากสถานการณ์การสูบบุหรี่และการใช้สารเสพติดในเด็กและเยาวชนข้างต้นจึงได้มีการวิเคราะห์ปัญหาสำคัญของการสูบบุหรี่และใช้สารเสพติดในพื้นที่ตำบลบ้านควนที่เป็นปัญหาหลักด้านสุขภาพต่อตนเองและผู้อื่นโดยตรง ผลกระทบได้รับการสูบบุหรี่และใช้ยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนดังนี้ ด้านสุขภาพ >เป็นมะเร็งปอด > ความผิดปกติของทารกพัฒนาการของเด็ก>COPD >เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ >ระบบหายใจ >ทำลายประสาทสมอง >จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ >เสียบุคลิกภาพ >ขาดสติสัมปชัญญะ >ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย >พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆ ให้เสื่อมลง >มีโรคแทรกได้ง่าย >ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง
ด้านจิตใจ >ขัดใจ/อึดอัด > เกิดสภาวะซึมเศร้า
ด้านเศรษฐ์กิจ >รายจ่ายเพิ่มขึ้น >รายได้ไม่เพียงพอ
ด้านครอบครัว >ปัญหาครอบครัว >เกิดพฤติกรรมเลียนแบบ >ทำลายบรรยกาศภายในบ้าน >ขาดความรักความอบอุ่นจากครอบครัว >ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง> เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว >ขาดหลักประกันของครอบครัว >ทำงานไม่ได้ >ไม่เป็นที่วางใจของคนทั่วไป >นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง
ด้านสังคม> ความขัดแย้งระหว่างบุคคล > เข้าถึงการซื่อได้ง่าย> สังคมไม่ยอมรับ> เป็นวัฒนธรรมทางสังคมเป็นภัยต่อสังคม >มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง
ดังนั้นจากปัญหาทีกล่าวมาข้างต้นในแต่ละประเด็น จึงต้องมีการป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของคนในชุมชน โดยการเปิดพื้นที่รณรงค์ให้ความรู้เท่าทัน บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสียงต่างอื่นๆ โดยใช้กลุ่มเด็กและเยาวชนซึ่งถือเป็นพลังบริสุทธิ์ในการขับเคลื่อนกลไกการเชิญชวน ลด ละ เลิกบุหรี่และสิ่งเสพติดต่างๆ โดยการสร้างแกนนำแต่ละหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 5 คน เพื่อเป็นแกนนำหลักในการรณรงค์ภายในหมู่บ้านของตนเอง เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะที่ดีสำหรับคนในชุมชนทุกเพศ ทุกวัยต่อไป
การบริหารจัดการโครงการที่ผ่านมามีภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมสร้างแกนนำเยาวชนนักรณรงค์ อาทิเช่น พมจ.สตูล สสจ.สตูล อบต.บ้านควน มัสยิดสสอ.เมืองสตูล รวมทั้งการทำงานร่วมกับเครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนล่าง จะสามารถช่วยสนับสนุนและผลักดันให้โครงการสามารถดำเนินการตามเป้าหมายดังที่ตั้งไว้ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน
- เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
- เดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด พร้อมมอบป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และ ร้านนี้ไม่จำหน่ายสุรา
- กิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ ณ ศูนย์การเรียนรู้โคกหนองนาและแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านทุ่งวิมาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 35 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.แกนำ เยาวชน มีความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มขึ้น
2.เกิดแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน |
||
วันที่ 20 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า แกนนำมีความเข้าใจเกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี ยาเสพติดและปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เป็นอย่างมาก ทว่าปัญหาและอุปสรรคที่ไม่สามารถทำให้โครงการดำเนินการรตามแผนที่วางไว้ก่อนหน้าได้ คือปัญหาการเบิกจ่ายภายในองค์กร เนื่องด้วยกลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมาน ได้รับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงาน คณะกรรมการบริหารกลุ่มชุดก่อนได้ก้าวเข้าสู่วัยทำงาน มีภาระหน้าที่มากขึ้น เมื่อต้องทำเรื่องเบิกจ่ายเงินของกลุ่มฯ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน ตัวชี้วัด : ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน (ร้อยละ) |
50.00 | 80.00 | 0.00 |
|
2 | เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ตัวชี้วัด : จำนวนแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ |
0.00 | 35.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 35 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดแก่แกนนำ เยาวชน (2) เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนขับเคลื่อนงานรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันบุหรี่ ยาเสพติด และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆและภาวะความเป็นผู้นำ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน (2) เดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด พร้อมมอบป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และ ร้านนี้ไม่จำหน่ายสุรา (3) กิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ ณ ศูนย์การเรียนรู้โคกหนองนาและแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านทุ่งวิมาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาแกนนำเด็กและเยาวชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงบุหรี่และยาเสพติด ตำบลบ้านควน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธีรเทพ จิตหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......