กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2565 ”

ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิชุตา จุลวรรณโณ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญการ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อน้ำร้อน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4128-1-05 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4128-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กำลังระบาดทั้งประเทศ ข้อมูลจากศบค.โควิด 19 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน – 17 พฤศจิกายน 2564 มีผู้ติดเชื้อสะสมในประเทศไทย จำนวน 2,008,361 คน มีผู้เสียชีวิต จำนวน 20,105 คน หายป่วยกลับบ้าน 7,191 ราย หายป่วยสะสม 1,898,217 ราย ผู้ป่วยกำลังรักษา 91,382 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
  จากรายงานสถานการณ์โควิด19 จังหวัดยะลา วันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา มีผู้ป่วยติดเชื้อสะสม จำนวน 45,310 ราย เสียชีวิตสะสม 317 ราย กำลังรักษาตัว 2,960 ราย รักษาหายแล้ว 44,170 ราย ได้แพร่กระจายอยู่ในทุกอำเภอของจังหวัดยะลา จังหวัดยะลาได้มีมาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยกำหนดมาตรการคัดกรองการเดินทางเข้า-ออก พื้นที่จังหวัดยะลา ให้ผู้ที่เดินทางเข้าออกต้องได้รับวัคซีนอย่างน้อย 1 เข็ม เมื่อเข้าพื้นที่จะต้องกักตัวตนเองในที่พักหรือที่ราชการจัดให้ เป็นระยะ 14 วัน หรือเท่าที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อออกคำสั่งให้กักตัวตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกอบกับสถานการณ์ในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะ (ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึง 17 พฤศจิกายน 2564) มีผู้ป่วยสะสมจำนวน 384 ราย ผู้เสียชีวิต จำนวน 1 ราย และข้อมูลจากงานระบาดรพ.สต.บ้านบ่อน้ำร้อน มีผู้ป่วยสะสม จำนวน 37 ราย และการแพร่ระบาดของโรคอาจจะมีการแพร่กระจายเป็นวงกว้างได้อีกในอนาคต หากยังไม่มีมาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่ดีพอ   สำหรับผู้สัมผัสเสี่ยงโรคกับผู้ป่วยโควิด ก็ให้ดำเนินการกักตัวตามความเห็นของเจ้าพนักงานควบคุมโรคออกคำสั่งให้เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ผู้กักตัวที่บ้าน (Home Quarantine) ต้องไม่ให้ออกจากที่พัก ต้องมีผู้จัดหาอาหารและของใช้จำเป็นให้ และต้องปฏิบัติตัวตามมาตรการป้องกันโรค เช่น สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา ล้างมือด้วยเจลหรือสบู่บ่อย ๆ ต้องรักษาระยะห่างจากคนอื่น ต้องแยกห้องนอน แยกอุปกรณ์การทานอาหาร ต้องวัดอุณหภูมิร่างกาย เป็นต้น   อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุขของประชาชน จึงต้องปฏิบัติการด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ตามมาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการตรวจป้องกันตนเองได้ และ สามารถถ่ายทอดวิธีการให้ประชาชนในพื้นที่ได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    บรรลุตามวัตถุประสงค์ โดยใช้งบประมาณจำนวน 12,900 บาท ดังนี้
    1.ค่าวิทยากร จำนวน 6 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท 2.ค่าอาหารว่าง จำนวน 50 คน ๆ ละ ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2565 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 65-L4128-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววิชุตา จุลวรรณโณ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญการ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อน้ำร้อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด