กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3346-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3346-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ5-14ปีซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝนมาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุง ต้องตัดวงจรของยุงซึ่งเป็นพาหะนำโรค และเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียวดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากโรงเรียนชุมชนและองค์กรต่างๆ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน มีจำนวนผู้ป่วย 5 ปีย้อนหลัง ดังนี้ ปี พ.ศ.2560 มีผู้ป่วย 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 329.54 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.2561 มีผู้ป่วย 41 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 750.64 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.2562 มีผู้ป่วย 21 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 384.47 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ.2563 มีผู้ป่วยทั้งหมด 13 รายคิดเป็นอัตราป่วย 238.09 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 2564มีผู้ป่วย จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย33.00 ต่อแสนประชากรซึ่งจะเห็นว่าส่วนใหญ่แต่ละปีจะมีจำนวนผู้ป่วยเกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง(ค่ามัธยฐาน329.54 ต่อแสนประชากร) ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว และอาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒๕65 ขึ้น โดยเน้นการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในกลุ่มนักเรียนทั้งนี้เพื่อให้ชุมชนและโรงเรียนได้ร่วมกันรับผิดชอบในการดำเนินงานเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและเพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้โรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย
  2. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
  2. กิจกรรมประกวดเขียนเรียงความไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมประกวดโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย
  4. กิจกรรมควบคุมโรค - พ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกรณีเกิดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนและองค์กรต่าง ๆในชุมชน โรงเรียนทุกแห่ง มีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและให้ความสำคัญในการรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  4. นักเรียนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดทั้งที่บ้านและโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้โรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ไม่เกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : - จำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลดลง - ประชาชนมีความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ - เพื่อลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเหลือไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้โรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย (2) เพื่อลดอัตราป่วยและไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมประกวดเขียนเรียงความไข้เลือดออก (3) กิจกรรมประกวดโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย (4) กิจกรรมควบคุมโรค - พ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกรณีเกิดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนและโรงเรียนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3346-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด