กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการรวมพลัง ชุมชนป้องกันโรค บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอสม.บ้านปาเต๊ะ โดยนายยงยุทธ เนาวราช

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลัง ชุมชนป้องกันโรค บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5303-2-4 เลขที่ข้อตกลง 9/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลัง ชุมชนป้องกันโรค บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลัง ชุมชนป้องกันโรค บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลัง ชุมชนป้องกันโรค บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5303-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อ เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขที่มีผลต่อประชาชน หากมีการระบาดรุนแรง อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคไข้เลือดออก ที่เป็นปัญหาการระบาดทุกปี และมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงลอย ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ซึม อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และตับโตร่วมด้วย ในผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการรุนแรงถึงกับมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆในร่างกาย ทำให้ช็อก และเสียชีวิตได้ ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในชุมชนบ้านปาเต๊ะ มีจำนวนผู้ป่วยในทุกปี และมีแนวโน้มระบาดต่อเนื่อง มาตรการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้น การที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่ จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครในเครือข่ายต่างๆ ช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุด คือ การรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด นอกจากนี้ยังพบว่ามีปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ได้แก่ ขยะ มูลสัตว์ น้ำโสโครกที่ทำให้เกิดโรคกับประชาชนในชุมชนได้ ซึ่งจะพบว่าในครัวเรือนมีการกำจัดขยะไม่เหมาะสม ไม่ปิดถังขยะให้มิดชิด เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน ในบริเวณบ้านและถนนบางสายที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน มีสุนัขหรือแมวกัดกินอาหารและขยะตามถังเก็บขยะที่ตั้งอยู่หน้าบ้าน หากไม่รีบดำเนินการจัดการปัญหาดังกล่าว ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อสุขภาพโดยตรงต่อประชาชนในชุมชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการปฏิบัติตัวในสถานการณ์โควิด-19
  2. ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชน
  3. ข้อที่ 3 ดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI CI ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
  2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย
  3. 3กิจกรรมส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่อสม.และแกนนำในชุมชนในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและการปฏิบัติตัวในสถานการณ์โควิด-91
  4. 4. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก
  5. 5. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 470
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. เครือข่ายและประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการเร่งรัดการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่ออย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
  3. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 4. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก

วันที่ 25 เมษายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ           1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ - กิจกรรมส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ (โรคไข้เลือดออก , การจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อม)
4. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก - จัดกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ (โรคไข้เลือดออก , การจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อม) รวมถึงจัดสัปดาห์เฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน โรงเรียน มัสยิด - รณรงค์สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ และรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน โรงเรียนและมัสยิด - จัดทีม อสม.ควบคุมโรค เพื่อควบคุมการระบาดของโรคอย่างทันท่วงที - ใส่ทรายทีมีฟอส พ่นยาในบ้านผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค 5. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. เครือข่ายและประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการเร่งรัดการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่ออย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
  3. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลง

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการปฏิบัติตัวในสถานการณ์โควิด-19
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการปฏิบัติตัวในสถานการณ์โควิด-19 ร้อยละ 80

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

 

3 ข้อที่ 3 ดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI CI ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 ดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI CI ไม่เกิน10

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 470
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 470
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการปฏิบัติตัวในสถานการณ์โควิด-19 (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชน (3) ข้อที่ 3 ดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI CI ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ (2) 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย (3) 3กิจกรรมส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่อสม.และแกนนำในชุมชนในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและการปฏิบัติตัวในสถานการณ์โควิด-91 (4) 4. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก (5) 5. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลัง ชุมชนป้องกันโรค บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5303-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอสม.บ้านปาเต๊ะ โดยนายยงยุทธ เนาวราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด